Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Peck's theory ฃ (รายชื่อสมาชิก (นางสาวนัฐธิดา เที่ยงโต เลขที่ 40,…
Peck's theory
ผู้สูงอายุวัยต้น (55-75) และผู้สูงอายุวัยปลาย (75 ปีขึ้นไป)
มีความแตกต่างกันทั้งด้านลักษณะนิสัยและการปฏิสัมพันธ์ทางด้านสังคม
ผู้สูงอายุมีพัฒนาการ 3 ประการ ดังนี้
(1) ความสามารถในการแยกความแตกต่างของตนกับบทบาทช่วงชีวิตที่ผ่านมา
ความภาคภูมิใจในตนเองและความรู้สึกว่าตนเองไร้คุณค่าและถ้าความรู้สึกภาคภูมิใจและความมีคุณค่าของงานไม่ได้มาจากตำแหน่งหน้าที่ที่เคยทำหลังเกษียณ
ความรู้สึกนั้นยังคงมีอยู่เช่นผู้สูงอายุที่ชอบปลูกต้นไม้จะพึงพอใจหลังเกษียณอายุที่ได้ทำสิ่งที่ต้องการแทนงานอาชีพที่เคยทำประจำ
(2) ความสามารถทางร่างกายที่มีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ
ถ้าผู้สูงอายุนึกถึงสภาพร่างกายยังมีความแข็งแรงจะทำให้ผู้สูงอายุยอมรับความสามารถทางร่างกายที่ลดลงและพยายามปรับตัวให้เหมาะสมชีวิตจะมีความสุข
แต่ถ้าผู้สูงอายุนึกถึงความถดถอยของร่างกายทำให้ผู้สูงอายุมีความสุขและความพึงพอใจลดลง
(3) ความสามารถในการยอมรับว่าร่างกายของตนเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติกับร่างกายก่อนสูงอายุ
การยอมรับร่างกายตามธรรมชาตินี้ทำให้ผู้สูงอายุยอมรับความตายโดยไม่รู้สึกหวาดกลัว
การยอมรับนี้รวมไปถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความตายด้วย
ในทางตรงข้ามผู้ที่ยึดติดกับสภาพร่างกายขณะที่อยู่ในวัยน้อยกว่าจะพยายามยึดชีวิตไว้ให้ยาวนานที่สุดโดยไม่พึ่งพอใจกับสภาพที่เป็นอยู่และมีความหวาดกลัวกับความตาย
อ้างอิง
ธนพล โล่ห์สุวรรณ. (2556). ผู้สูงอายุและการเปลี่ยนแปลงวัยสูงอายุ. ชลบุรี: มหาลัยบูรพา. สืบค้นเมื่อ 13 มกราคม 2563, จาก
http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51928297/chapter2.pdf
ปาณิสรา สลากรธนวัฒน์. (2554). ทฤษฎีชราภาพและแนวคิด. กรุงเทพฯ: มหาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. สืบค้นเมื่อ 13 มกราคม 2563, จาก
http://eresearch.ssru.ac.th/bitstream/123456789/170/5/ird_075_54%20%284%29.pdf
มาสสุรีย์ ศรีพรหมมา. (2558). ความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการรักษาสุขภาพ. สงขลา: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา. สืบค้นเมื่อ 13 มกราคม 2563, จาก
http://mistk.bcnsk.ac.th/ucontent3//_fulltext/20120913082438_2448/chapter2.pdf
รายชื่อสมาชิก
นางสาวนัฐธิดา เที่ยงโต เลขที่ 40
นางสาวนารีรัตน์ นิยม เลขที่ 44
นางสาวพรชิตา มะม่วงชุม เลขที่ 54
นางสาววรระวี รักษากุล เลขที่ 69
นางสาววิภาวี แก้ววิเชียร เลขที่ 74
นางสาวโสรญา แก้วศรี เลขที่ 88
นางสาวอรนภา กฤตธนเวท เลขที่ 92
การประยุกต์ใช้การพยาบาล
แนะนำให้ผู้สูงอายุมองอดีตของตนเองอย่างชื่นชมเเทน
การมองอนาคตที่เหลืออย่างเป็นทุกข์