Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Preterm Infant ทารกคลอดก่อนกำหนด (ลักษณะของทารก (มีรูปร่างเล็ก…
Preterm Infant
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ความหมาย
ทารกคลอกก่อนอายุครรภ์ น้อยกว่า 37 สัปดาห์ หรือน้อยกว่า 259 วัน โดยไม่คำนึงถึงน้ำหนักตัวทารก
ประเภคตามอายุครรภ์
Boderine premature infant 37-38 wks
Moderate premature infant 31-36 wks
Extermely premature infant 24-30 wks
ประเภทตามน้ำหนัก
LBW น้อยกว่า 2,500 กรัม
Very LBW น้อยกว่า 1,500 กรัม
Extermely LBW น้อยกว่า 1,000 กรัม
ผลกระทบ
ผลการทบต่อทารก
ขาดสาร surfactant ในถุงลม มีผลต่อระบบการหายใจ
Cuctus arteriosus และ Foramen ovale ไม่เปิด
การกรองของไตไม่ดี
sub temp จากศูนย์ควบคุมอุณหภุมิที่ไม่ดี
ตับทำงานไม่สมบูรณ์ billiribin คั่ง
การดูดกลืนและการดูดซึมไม่ดี
ติดเชื้อง่าย
ผลกระทบต่อมารดา
เครียดและวิตกกังวล
แบบแผนการดำเนินชีวิตประจำวันเปลี่ยนแปลง ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยายั้บการหดรัดตัวของมดลูก
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึน
สำไส้เน่า (NEC)
การพยาบาล
ประเมินภาวะลำไส้เน่าได้แก อาการท้องอืด อาเจียน นมค้างในกระเพาะผิดปกติ ถ่ายอุจจาระปกติ เป็นต้น
บันทึก V/S เปลี่ยนแปลงทารกที่มีปัญหาNEC ระวังทารกเสี่ยงต่อภาวะช็อค
จัดท่านอนหัวสูงเล็กน้อย เพราะทารกมีอาการท้องอืด
ดูแลสารน้ำให้เพียงพอ
งดอาหารและน้ำทางปาก
หากมีอาการท้องอืดให้ดูดอาหารออกทางสายสวนกระเพาะอาหารทางจมูก
เลือดออกในโพรงสมอง IVH: Intraventricular Hemorrhage
การพยาบาล
ให้หายใจสะดวกและได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ให้ได้รับอาหารและน้ำเพียงพอ การให้อาหารทารกมีความสำคัญมาก เนื่องจากทารกดูดกลืนไม่ดี
ป้องกันและไม่ให้รับอันตรายจากการชัก จัดวางเตียงทารกให้อยู่ในที่ที่พยาบาลสังเกตทารกได้ง่ายให้ยาระงับชักตามแผนการรักษา
ให้ได้รับการพักผ่อนเพียงพอ
ติดเชื้อ
การพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของอาการของการติดเชื้อ ได้แก่ ดูดนมลดลง ไข้ขึ้นสูง ตัวเย็น มือเท้าเย็น ชีพจรเต้นเร็ว มากกว่า 160/ครั้ง หายใจหอบเหนื่อย มีหายใจ retraction ร้องไห้ เป็นต้อ
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาล
ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้หลัก aseptic technique
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโดยสวมหมวก ผูกผ้าปิดปากและจมูก
ดูแลให้ทารกได้รับยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง ครบถ้วนตามแผนการรักษา
ประเมิน v/s
ดูแลรักษาความสะอาดร่างกายทารกและสิ่งแวดล้อม
ดูแลให้ทารกได้รับนมแม่
ติดตามผลทางห้องปฏิบิติการ
hypothermia
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะอุณหภูมิกายต่ำ ได้แก่ ใบหน้าแดง ผิวหนังเย็น เขียวคล้ำ ปลายมือปลายเท้าเย็น ริมปากซีดเขียว
ประเมิน v/s
keep warm
จัดเตรียมสภาพแวดล้อมภายห้อง อุณหภูมิภายในห้องไม่ควรต่่า
กว่า 26 องสาเซลเซียส
การนำความร้อน (Conduction) การแผ่รังสี (Radiation) การระเหย (Evaporation) การพา (Convection)
โรคปอดเรื้อรัง (BPD)
การพยาบาล
ดูแลให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
การจัดท่านอน
สังเกตและประเมินภาวะหายใจลำบาก
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
RDS
การพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดง ได้แก หายใจหอบ หายใจลำบาก จมูกบาน retraction หายใจออกมีเสียงได้ยินเสี่ยงคราง cyanonosis เป็นต้น
Tachypnea มากกว่า 60 ครั้ง/นาที หรือ dyspnea
ให้ออกซิเจนความเข้มข้นตั้งแต่ 40% ขึ้นไปหรือตามแผนการรักษา
การรักษาด้วยสารแรงตึงผิว (Surfactant) (นพวรรณ พงส์โสภา.(2558).ผลการรักษาภาวะRespiratory distress syndrome โดยใช้Surfactant ในโรพยาบาลสุราษฏร์ธานี )
จัดposition ศีรษะสูงประมาณ15 องศาหรือใช้ผ้าหนุนบริเวณไหล่ของทารก
Hypoglycemai
การพยาบาล
1.ดูแลให้ทารกได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเหมาะสมเพียงพอ ควรเริ่มให้นมแม่โดยเร็วภายใน 1 ชั่วโมงแรกหลังเกิด และให้ต่อเนื่องกันตามความต้องการของทารก ทุก 2-3 ชั่วโมง
2.ควบคุมอุณหภูมิห้องและดูแลให้ความอบอุ่นแก่ทารก
3.สังเกต บันทึก และรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ และอาการ
4.ติดตามผลการตรวจหาระดับน้ำตาลเป็นระยะ
5.ดูแลให้ทารกได้รับยาตามแผนการรักษาอย่างถูกต้อง
ลักษณะของทารก
มีรูปร่างเล็ก ศีรษะมีขนาดใหญ่เทียบกับขนาดตัวลำตัว
ผิวหนังบาง ไขมันใต้ผิวน้อย มองเห็นเส้นเลือดฝอย
ไขมันเคลือบตัวน้อย
มีขนอ่อนมาก โดยเฉพาะหน้าผาก ไหล่ ต้นแขน
น้ำหนักทั้วไปไม่เกิน 2500 กรัม
ใบหูอ่อนนุ่ม งอพับได้ เนื่องจากกระดูกอ่อนน้อย
หัวนมแบนราบ
เส้นลายฝ่ายเท้ามีน้อย
อวัยวะเพศชาย อัณฑะไม่ลงถุง มีรอยย่น
อวัยวะเพศหญิงเห็น labia minora และ clitoris ชัดเจน
ท่าทางแขนขาเหยียดออก กล้ามเนื้อน้อย
reflex การดูด กลืน ไอ จาม อาการแสดงทางระบบประสาทมีน้อย
ทารกอ่อนนิ่ม เนื้อเยื่อปอดเจริญไม่สมบูรณ์
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
ใช้สารเสพติด
อายุุ น้อยกว่า 18ปี หรือ มากกว่า 35 ปี
มีการเจ็บป่วย เช่นโรคหัวใจ เบาหวาน ไต ติดเชื้อ เป็นต้น
น้ำหนักตัวน้อย
สภาพเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว
การมีเพศสัมพันธ์ขณะตั้งครรภ์
การไม่ไปฝากครรภ์
ปัจจัยด้านการตั้งครรภ์
ภาวะตั้งครรภ์แฝด
ภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์, ครรภ์เป็นพิษ
ภาวะปากมดลูกเปิดไม่สนิท
ถุงน้ำคล่ำแตกก่อนกำหนด
รกเกาะตำ
ปัจจัยด้านทารก
ความผิดปดติของโครโมโซม
รูปร่างผิดปกติ
มีการติดเชื้อ
การประเมินและการวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ปากมดลูกมีการเปลี่ยนแปลงชัดเจน ปากมดลุกเปิดอย่างน้อย 2 ซม.หรือปากมดลูกบางตั้งแต่ร้อยละ 80
มดลูกหดรัดตัวอย่างส่ำเสมออยางน้อย 4ครั้ง ใน 20นาที หรือ 8ครั้งใน 60นาที
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Fatal fibronection มากว่า 50 NG/MG
Estroil มากกว่า 2.1 NG/MG
การวัดความยาวของปากมดลูกด้วยคลื่นความถี่สูง : ความยาวลดน้อยลงน้อยกว่า 25 มม.
ซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
มัการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมอ ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก อาจมีอาการปวดร่วมด้วนหรือมีน้ำคร่ำออกทางช่องคลอด
ข้อห้ามในการยับยั้งการเจ็บครรภ์คลดก่อนกำหนด
ถ้าปล่อยให้ตั้งคครภ์ต่อไปจะเป็นอันตราย เช่น ทารกเสียชีวิตในครรภ์ เป็นต้น
การคลอดมีความก้าวหน้า
มารดารมีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง เช่น severe preeclampsia การติดเชื้อในโพรงมดลูก
ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ยา Prostaglandin synthesis inhibitor (ASAIDs) ยับยั้งการสร้างProstaglandin
ยากลุ่ม calcium channel blocker นิยมใช้ nifedipine และ nicardipine
ยา Magnesuium Sulfate มดลูกคลายตัว
ยากลุ่ม B-adrenergic-receptor agonit ทำให้กล้ามเนื้อหลอดลมขนายตัว หลอดเลือขยาย BP drop มดลูกคลายตัว ทำให้หัวใจเต้นเร็ว ระดับน้ำตาลในเลือดสูง บวมน้ำ