Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยคลอดด้วยคีม (Forceps Extraction) (สตรีตั้งครรภ์ที่มีปัจจัยเสี่ยง,…
การช่วยคลอดด้วยคีม
(Forceps Extraction)
ความหมาย
การใช้คีมดึงศีรษะทารกออกจากช่องทางคลอด ไม่ให้บาดเจ็บต่อมารดา/ ทารก เพื่อช่วยคลอดทารกในกรณีทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขันเพื่อต้องการให้เกิดการคลอดเร็วขึ้น หรือกรณีที่มารดาไม่มีแรงเบ่งคลอด โดยการใช้คีมซึ่งมี 2 ชิ้น คือชิ้นด้านซ้ายและชิ้นด้านขวา ประกบบริเวณศีรษะทารก แล้วแพทย์ออกแรงดึงเพื่อช่วยคลอด
สิ่งที่ต้องมีให้ครบก่อนทำ F/E
cervix fully dilatation
MR
ศีรษะทารกอยู่ในอุ้งเชิงกราน
ไม่มี CPD
สวนปัสสาวะทิ้ง
ชนิดของคีม ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
Simpson Forceps
ใช้ทำคลอดศีรษะต่ำกว่า ischial spine
เรียกว่า low forceps
Kielland Forceps ใช้หมุนศีรษะทารก เช่น OP , OT
Piper Forceps ใช้ทำคลอดศีรษะทารก
ในการช่วยคลอดทารกที่มีก้นเป็นส่วนนำ
ข้อบ่งชี้ในการใช้คีมช่วยคลอด
ด้านมารดา
ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
อ่อนเพลียไม่มีแรงเบ่ง
ไม่ให้ความร่วมมือในการเบ่ง
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
มีโรคหรือภาวะแทรกซ้อนที่อันตราย
เช่น โรคหัวใจ โลหิตจาง PIH ระดับรุนแรง
ด้านทารก
Fetal distress
การหมุนของศีรษะทารกในครรภ์ผิดปกติ
เช่น Occiput posterior
คลอดท่าก้นที่มีการคลอดศีรษะติดขัด
ช่วยคลอดตามปกติไม่สำเร็จหรือทำยาก
ชนิดของการทำคลอดด้วยคีม
High forceps ทำกรณีที่ศีรษะทารกยังไม่เข้าสู่อุ้งเชิงกราน
ไม่นิยมใช้เพราะอันตราย
Mid forceps ทำกรณีที่ศีรษะ engagement แล้ว
station 0 ถึง + 2
Low forceps ทำกรณีที่ station ต่ำกว่า + 2
การหมุนของศีรษะ > 45 องศา
Outlet forceps เมื่อเห็นศีรษะที่ perineum และ sagittal suture อยู่ในแนว A-P หรือเอียงซ้าย/ ขวาไม่เกิน 45 องศา
ภาวะแทรกซ้อนของการช่วยคลอดด้วยคีม
ด้านมารดา
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
อันตรายต่อกล้ามเนื้อ pelvic floor ทำให้มดลูกหย่อน
การแยกของกระดูกหัวเหน่าทำให้ปวดหัวเหน่า/ปวดหลัง เป็นมากอาจเดินไม่ได้
อันตรายต่อกระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ
อันตรายต่อทวารหนัก
ตกเลือดหลังคลอด จากการฉีกขาดของช่องทางคลอด
หรือจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
การติดเชื้อ
ด้านทารก
cephalhematoma
intracranial hemorrhage
subconjunctival hemorrhage
facial palsy
Erb’s paralysis
asphyxia
การพยาบาล
การพยาบาลก่อนทำคลอดด้วยคีม
เตรียมด้านจิตใจและด้านร่างกาย เช่น การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์และผู้คลอดเพื่อการคลอด สวนปัสสาวะทิ้ง ประสานกุมารแพทย์ในกรณีที่ fetal distress
การพยาบาลขณะทำคลอดด้วยคีม
ดูแลด้านจิตใจให้กำลังใจและแนะนำการปฏิบัติตัวขณะที่แพทย์ช่วยคลอด
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที ถ้าผิดปกติ รีบรายงานแพทย์
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและรายงานให้แพทย์ทราบเพื่อที่แพทย์จะได้เริ่มดึง
เตรียมช่วยเหลือถ้าช่วย F/E ไม่สำเร็จต้องรีบเตรียมผ่าตัดคลอดทันที
ดูแลทารกแรกเกิด โดยเพิ่มการประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการช่วย F/E
การพยาบาลหลังทำคลอดด้วยคีม
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
/ สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ประเมิน P ,R , BP 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง
และทุก 1 ชม. จนกว่าปกติ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ถ้าไม่ดีให้คลึงมดลูกและใช้กระเป๋าน้ำแข็งวางที่มดลูก
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ประเมินเลือดที่ออกจากช่องคลอด และแผลฝีเย็บ
ดูแลความสุขสบายทั่วไปส่งเสริมสัมพันธภาพ
ระหว่างมารดาและบุตร
สตรีตั้งครรภ์ที่มีปัจจัยเสี่ยง
อายุมาก
ตัวเตี้ย
ครรภ์แรก
ไม่มีแรงเบ่งคลอด
มีโรคประจำตัวที่ต้องลดการเบ่งคลอด เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง ครรภ์เป็นพิษ
ทารกในครรภ์อยู่ผิดท่า เช่น ท่าตะแคง ท่านอนหงายหน้าทารก
ท่าก้นเป็นส่วนนำ จะใช้คีมช่วยคลอดศีรษะหลังจากคลอดลำตัวทารกออกมาแล้ว
ข้อห้าม
ทารกในครรภ์มีอายุครรภ์น้อยๆ
ส่วนนำทารกในครรภ์ยังไม่เข้าสู่อุ้งเชิงกราน
แพทย์ไม่รู้ท่าทารกในครรภ์ที่แน่นอน
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าหน้า
ทารกในครรภ์มีโรคเลือดชนิดที่ทำให้เกิดเลือดออกง่าย