Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
L10 กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการพิสูจน์หลักฐานทางการแพทย์ในคดีความ…
L10 กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการพิสูจน์หลักฐานทางการแพทย์ในคดีความ
ความรู้เกี่ยวกับการพิสูจน์หลักฐาน
แบ่งส่วนราชการออก ดังนี้
-กองบังคับการอำนวยการ
-สถาบันฝึกอบรมและวิจัยนิติวิทยาศาสตร์
-กองทะเบียนประวัติอาชญากร
-กองพิสูจน์หลักฐานกลาง
-ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 1
-ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 2
-ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 3
-ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 4
-ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 5
-ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 6
-ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 7
-ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 8
-ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 9
-ศูนย์พิสูจน์หลักฐาน 10
การเป็นพยานศาลใน
คดีอาญา
-ต้องมีหมายศาล
เท่านั้น
-ถ้าเบิกความเท็จ จะโดน
ข้อหาให้พยานเท็จ
กฎหมายออกเป็น3ประเภท
• กฎหมายปกครอง
• กฎหมายเอกชน
• กฎหมายอาญา
กฎหมายเกี่ยวกับชีวิต
ลักษณะ ๑๐ ความผิดเกี่ยวกับชีวิต
มาตรา ๒๘๙ ผู้ใดฆ่าผู้อื่น ต้องระวาง
โทษประหารชีวิต จำคุกตลอดชีวิต
หรือจำคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี
ผู้ใด :
-ฆ่าบุพการี
กฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ และวัตถุออก
ฤทธิ์ต่อจิตฯ
กฎหมายเกี่ยวกับชีวิต
หมวด ๒ ความผิดต่อร่างกาย
มาตรา ๒๙๕ ผู้ใดทำร้ายผู้อื่น จนเป็นเหตุให้
เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจของผู้อื่นนั้นผู้
นั้นกระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกาย ต้อง
ระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกิน
สี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์
วิธีจำ
ลักทรัพย์ = เอาไม่บอก
วิ่งราวทรัพย์ =เอาซึ่งหน้า
ชิงทรัพย์ =ทำร้ายแล้วเอา
กฏหมายที่เกี่ยวกับชีวิต หมวด๓ ความผิดฐานทอดทิ้งเด็กคนป่วยเจ็บหรือคนชรา
มาตรา ๓๐๖ ผู้ใดทอดทิ้งเด็กอายุยังไม่เกินเก้าปีไว้
มาตรา ๔ ยาเสติดให้โทษ หมายความว่า สารเคมีหรือวัตถุ
ชนิดใดๆ เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ
ฉีด หรือด้วยประการใดๆ ทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ
-เบิกความด้วย ข้อเท็จจริง
และร่างกาย
หมวด ๑ ความผิดต่อชีวิต
-ฆ่าเจ้าพนักงาน
-ฆ่าผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงาน
-ฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน
-ฆ่าผู้อื่นโดยทรมาน หรือ โดนกระทำ
ทารุณโหดร้าย
-ฆ่าผู้อื่นเพื่อตระเตรียมการ
-ฆ่าผู้อื่นเพื่อจะเอาหรือจะเอาไว้ซึ่ง
ผลประโยชน์
ต้องระวางโทษประหารชีวิต
พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒
อับดุลอาซิ ยูโซ๊ะ 61110409