Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Down Syndrome (ภาวะแทรกซ้อน (มีปัญหาเกี่ยวกับต่อมไทรอยด์ ทำให้อาจง่วงซึม…
Down Syndrome
สาเหตุ
ดาวน์ซินโดรมเป็นโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซมโดยมีโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมาอีก 1 แท่ง
ประเภทของดาวน์ซินโดรม
-
ภาวะสลับชิ้นส่วนโครโมโซม (Translocation) คือ มีชิ้นส่วนเกินของโครโมโซมคู่ที่ 21 นั้นไปยึดติดกับโครโมโซมอีกตัวหนึ่ง
-
ภาวะโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมาเพียงบางส่วน (Partial Trisomy 21) คือ โครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมาเพียงบางส่วน
ลักษณะทางกายภาพ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง ทำให้ตัวอ่อนปวกเปียก (hypotonia) จมูกเล็กและดั้งจมูกแบน ปากเล็ก ลิ้นจุกปาก มักแลบลิ้นออกมาเนื่องจากกล้ามเนื้อในช่องปากไม่แข็งแรง าเรียว หางตาเฉียงชี้ขึ้น ศีรษะแบน หน้าแบน คอสั้นหูเล็ก ใบหูส่วนบนมีรอยพับมากกว่าปกติ ช่องระหว่างนิ้วโป้งเท้าและนิ้วชี้ห่างมาก และอาจพบปลายนิ้วก้อยโค้งเข้าหานิ้วนาง อกว้าง นิ้วมือสั้น เส้นฝ่ามือมีเพียงเส้นตัดขวางเพียงเส้นเดียว (Transverse palmer crease) น้ำหนักและความยาวทารกแรกคลอดต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ย
-
การป้องกันดาวน์ซินโดรม
ดาวน์ซินโดรมเกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม จึงไม่สามารถป้องกันการเกิดโรคได้ แต่สามารถรับมือจัดการกับปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้มีลูกเป็นดาวน์ซินโดรมได้ ด้วยการปรึกษาแพทย์หากกำลังตั้งครรภ์หรือวางแผนมีบุตร เช่น ผู้ที่ตั้งครรภ์เคยให้กำเนิดเด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรมมาก่อนหรือไม่ และมีความเสี่ยงด้านอายุของผู้ที่ตั้งครรภ์หรือไม่ (ผู้เป็นแม่มีอายุมากยิ่งมีความเสี่ยงต่อการให้กำเนิดเด็กดาวน์ซินโดรมมากขึ้น)
ภาวะแทรกซ้อน
มีปัญหาเกี่ยวกับต่อมไทรอยด์ ทำให้อาจง่วงซึม เฉื่อยชา มีปฏิกิริยาตอบสนองเชื่องช้า น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
มีปัญหาด้านสายตาและการมองเห็น เช่น สายตาสั้น สายตายาว ตาเหล่ ตากระตุก กระจกตาย้วย เยื่อบุตาอักเสบ ตาติดเชื้อ ต้อหิน ต้อกระจก
-
-
-
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด กว่าครึ่งหนึ่งของเด็กดาวน์ซินโดรมมักมีความบกพร่องที่ผนังของหัวใจ เกิดหลุมเป็นรอยรั่วที่ผนังกั้นห้องของหัวใจทั้ง 4 ห้อง ทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้นในการสูบฉีดเลือด