Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาโรคติดต่อในปัจจุบัน (โรคอหิวาตกโรค (สาเหตุ (เชื้อแบคทีเรีย ชื่อว่า…
ปัญหาโรคติดต่อในปัจจุบัน
โรคอหิวาตกโรค
-
ทำไมเกิดปัญหา
การติดต่อทางอ้อม เช่น การใช้สิ่งของร่วมกับผู้ที่ติดเชื่อ หรือได้รับเชื้อจากนํ้าดื่มและ อาหารที่ไม่สะอาด เช่น มีแมลงวันมาตอมโดยเชื้อโรคติดมากับแมลงวันในขณะที่บินไปตอมอุจจาระของผู้ที่ติดเชื้อ
-
การแก้ปัญหา
-
ทำการควบคุมสุขาภิบาลอาหาร นํ้าดื่ม นํ้านม กำจัดแมลงวัน ทำลายเชื้อโรคที่ติดมากับสิ่งขับถ่ายของผู้ติดเชื้อ และภาชนะที่ผู้ติดเชื้อใช้
แยกกักผู้ที่ติดเชื้อ ทำการกักกันผู้สัมผัสโรค เช่น ผู้รักษาพยาบาลผู้ป่วย เพื่อดูอาการ จนกว่าจะพ้นระยะฟักตัวของโรค ประมาณ 5 วันนับจากวันที่ได้ใกล้ชิดผู้ป่วย
โรคตาแดง
สาเหตุ
-
สารเคมีที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง ที่มีความเป็นกรดหรือด่างมาก, การมีสิ่งแปลกปลอมเข้าตา, การใส่ Contact lens, โรคภูมิต้านตนเอง (Autoimmune)
-
โรคภูมิแพ้ สารก่อภูมิแพ้ที่พบบ่อย ได้แก่ ละอองเกสรดอกไม้ น้ำหอม เครื่องสำอาง ควันบุหรี่ ไรฝุ่น หรือแม้แต่ยาหยอดตาบางชนิด
ทำไมเกิดปัญหา
เป็นการติดต่อจากการสัมผัสกับเชื้อโรคโดยตรง เช่น สัมผัสกับขี้ตาหรือน้ำตาที่ติดอยู่บนมือหรือสิ่งของที่ผู้ป่วยสัมผัส
-
-
-
โรคเอดส์
-
ทำไมเกิดปัญหา
ความบ่อยในการสัมผัสเชื้อ
หากมีการสัมผัสเชื้อไวรัสบ่อย โอกาสเสี่ยงที่จะติดเชื้อก็มีสูงขึ้น เช่น นักวิจัยที่ต้องทำการทดลอง ศึกษาเกี่ยวกับเชื้อไวรัสเอชไอวี เป็นต้น
การติดเชื้อแบบอื่นๆ
เช่น แผลเริม ซึ่งแผลชนิดนี้จะมีเม็ดเลือดขาวอยู่ที่บริเวณแผลเป็นจำนวนมาก ทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย
มีบาดแผล
หากมีบาดแผลบริเวณผิวหนังหรือช่องปาก ย่อมทำให้มีโอกาสติดเชื้อสูงขึ้น (จากการมีเพศสัมพันธ์ทางช่องปาก) เพราะเชื้อเอชไอวี สามารถเข้าสู่บาดแผลได้
ปริมาณเชื้อเอชไอวี
หากได้รับเชื้อเอชไอวีในปริมาณมาก ก็จะทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูงตามไปด้วย โดยเชื้อเอชไอวีพบมากที่สุดในเลือด รองลงมาคือ น้ำอสุจิและน้ำในช่องคลอด
-
การเกิดโรคไข้เลือดออก
สาเหตุ
ยุงลายตัวเมียเป็นพาหะนำโรค เมื่อยุงลายดูดเลือดผู้ป่วยที่มีเชื้อไวรัสเดงกี มีระยะฟักตัวประมาณ 8-12 วัน
เชื้อไวรัสเดงกีซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 4 สายพันธุ์ คือ DENV-1, DENV-2, DENV-3 DENV-4
-
-
ทำไมเกิดปัญหา
-
อาการของโรคไข้เลือดออกมีตั้งแต่ไม่รุนแรงมากนักไปจนถึงเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาอย่าง ทันท่วงที
-
การแก้ปัญหา
ป้องกันไม่ให้ยุงลายกัด โดยสวมใส่เสื้อผ้าที่ปกปิดมิดชิด ใช้สารไล่ยุงชนิดต่างๆ เช่น DEET รวมถึงป้องกันไม่ให้ยุงลายเข้ามาหลบซ่อนในบ้าน
ยุงลายมักกัดในเวลากลางวันมากกว่ากลางคืน ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายบริเวณบ้านและใกล้เคียง ด้วยการปิดฝาภาชนะที่มีน้ำขังไม่ให้ยุงเข้าไปวางไข่ได้
เปลี่ยนน้ำในภาชนะที่ปิดไม่ได้ เช่น แจกัน ทุกสัปดาห์ ปล่อยปลากินลูกน้ำในอ่างบัว ปรับปรุงสภาพแวดล้อมบริเวณบ้านให้สะอาดปราศจากเศษวัสดุที่อาจมีน้ำขังได้ เช่น ขวดเก่า กระป๋องเก่า เป็นต้น
-