Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Melioidosis (โรคไข้ดิน) (การพยาบาล (1.แยกผู้ป่วยไม่ให้ผู้อื่นสัมผัสกับสิ่ง…
Melioidosis (โรคไข้ดิน)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Burkholderia pseudomallei (Psudomonas psudomalle ) ที่ปนเปื้อนได้ในน้ำและดิน แพร่กระจายสู่คนผ่านการสัมผัสเชื้อโดยตรงหรือโดยการติดต่อจากสัตว์ที่ติดเชื้อ เช่น สุนัข แมว หมู ม้า วัว ควาย แกะ แพะ เป็นต้น
การติดต่อ
เชื้อเข้าสู่ร่างกายผ่านทางผิวหนัง ถ้าผิวหนังสัมผัสดินและน้ำ การหายใจเอาฝุ่นดินเข้าไป โดยจะมีแผลหรือรอยขีดข่วนหรือไม่มีก็ได้
-
-
การพยาบาล
-
-
-
4.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง และสังเกตอาการของภาวะพร่องออกซิเจน ผู้ป่วยโรคนี้จะพบอาการการติดเชื้อที่ปอด(pulmonary melioidosis)
-
-
-
9.ดูแลทำความสะอาดร่างกายและปากฟันหลังจากรับประทานอาหาร
และดูแลร่างกายผู้ป่วยให้อบอุ่น ไม่เปียกชื้น เพื่อป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
-
-
-
ข่าว
เตือน"โคลนพุ" กิน-ดื่ม เสี่ยงตาย เจอโรคติดเชื้อไข้ดิน- ฉี่หนู จากกรณีโคลนผุดกลางทุ่งนาแล้วชาวบ้านนำดินโคลนไปพอกตัว รักษาโรคปวดเมื่อย พอกหน้า รวมถึงดื่มกิน ตามความเชื่อว่าเป็นโคลนวิเศษสามารถรักษาโรคต่างๆได้นั้น อาจทำให้ติดเชื้อโรคไข้ดิน โรคไข้ฉี่หนู ซึ่งเป็นโรคติดต่อที่ทำให้เสียชีวิตได้ ไม่ควรนำมาดื่มกินหรือสัมผัสดินโคลน และผ่านทางการหายใจ ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีไข้สูง มีอาการคล้ายปอดอักเสบติดเชื้อ
-
การป้องกันโรค
-
1.หลีกเลี่ยงการสัมผัสดินและน้ำโดยตรง หากต้องสัมผัสดินหรือน้ำ ควรสวมรองเท้าบูท ถุงมือยาง กางเกงขายาวหรือชุดลุยน้ำ
-
3.หากมีบาดแผลที่ผิวหนัง ควรรีบทำแผลด้วยยาฆ่าเชื้อ ไม่ใส่ดินหรือสมุนไพรใดๆ ลงบนแผล หลีกเลี่ยงการสัมผัสดินและน้ำจนกว่าแผลจะหายสนิท
-
-
-
-
-
-
10.ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวจะมีความเสี่ยงกับการเป็นโรคเมริออยด์สูงขึ้นและควรดูแลสุขภาพให้ดีเช่น ผู้ป่วยเบาหวานควรดูแลระดับน้ำตาลให้ปกติ
อาการและอาการแสดง
1.ไข้สูง มีอาการ sepsis, severe sepsis หรือseptic shock จากการติดเชื้อในกระแสเลือด(bacteremia)
2.ปอดติดเชื้อเฉียบพลัน (acute pneumonia) เช่น ไข้ ไอมีเสมหะ เจ็บหน้าอก มักพบร่วมกับการติดเชื้อในกระแสเลือด
-
-
- ติดเชื้อในข้อ (acute septic arthritis) เช่น ไข้
มีข้อบวม แดง ร้อน
5.ฝี (abscess) ซึ่งพบได้บ่อยในตับ ม้าม ต่อมน้ำเหลือง ตามผิวหนัง และอาจพบได้ในทุกอวัยวะในร่างกายเช่น ฝีในสมอง ฝีในตา ฝีในช่องคอชั้นลึก
-
7.ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการรุนแรงและเฉียบพลัน (ร้อยละ 90%) แต่ผู้ป่วยบางรายก็อาจมีอาการเรื้อรังและมีอาการคล้ายโรคอื่นๆได้ เช่น ไอเรื้อรังคล้ายวัณโรค แผลเรื้อรังคล้าย มะเร็งผิวหนัง
8.ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเช่น เบาหวาน ทาลัสซีเมีย และโรคไต มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคเมลิออยด์มากกว่าคนปกติ
การวินิจฉัย
- การเพาะแยกเชื้อใช้ตัวอย่างอวัยวะหรือหนองฝีจากสัตว์ที่ตายมาเพาะในอาหารเลี้ยงเชื้อโดย วิธีการแบคทีเรียวิทยา
2.การทดสอบทางซีรั่มวิทยาส่วนใหญ่เป็นวิธีการตรวจหาแอนตบอดี้ในซีรั่มของสัตว์ที่สงสัยซึ่งมี หลายวิธี เช่น complement fixation test (CFT), Immuno-fluorescence (IFA),
Indirect Haemagglutinization (IHA), และ enzyme linked-immunosorbent assay (ELISA) ซึ่ง แตล่ะวิธีจะต่างกันจะขึ้นอยู่กับแอนติเจนที่ใช้ทดสอบ
-
-
-
-
การรักษา
ระยะแรกรักษาด้วยยาต้านจุลชีพฉีดเข้าหลอดเลือดดำ Ceftazidime หรือ Meropenem หลังจากนั้นรักษาต่อเนื่อง ระยะเวลาในการรักษารวมประมาณ 20 สัปดาห์ หากมีฝีขนาดใหญ่ให้ระบายหนองด้วย
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-