Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cerebral infarction (ข้อมูลกรณีศึกษา (ลักษณะทั่วไปเมื่อรับไว้ในความดูแล,…
Cerebral infarction
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ข้อที่ 2
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนสมองบวมเเละความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP) เนื่องจากหลอดเลือดสมองด้านขวาตีบ
ข้อที่ 3
มีความบกพร่องด้านการเคลื่อนไหวร่างกายเเละการสื่อสารเนื่องจากการตีบของหลอดเลือดเเดงที่มาเลี้ยงสมองด้านซ้าย
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- เฝ้าระวังอาการทางระบบประสาท ทุก1ชั่วโมง ถ้า coma scale ลดลงมากว่าหรือเท่ากับ 2
รายงานแพทย์ทราบ
- ตรวจเฝ้าระวังภาวะพร่องออกซิเจนถ้าพบO, Sat <90% หรือผู้ป่วยมีภาวะ Cyaทosiร รายงาน
แพทย์ทราบ45 (รายงานภายใน 4 นาที)
- ตรวจเฝ้าระวังสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงหากพบสัญญาณชีพผิดปกติ ดังนี้ ระดับความดันโลหิต
SBP >185-220 mmHg, DBP >120-140 mmHg
- สังเกตและบันทึกอาการของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้
อาเจียนอย่างรุนแรง ตาพร่ามัว รูม่านตาไม่เท่ากันเกร็ง แขน ขาอ่อนแรงลงจากเดิม และลักษณะการหายใจที่ผิดปกติหากพบอาการดังกล่าวให้รายงานแพทย์ทันที
- จัดท่านอนให้ศีรษะสูง 15-30 องศา ดูแลศีรษะ ลำคอ และสะโพก ไม่พับงอมากกว่า 90 องศาเพื่อให้การไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงสมองได้สะดวกการไหลกลับของเลือดดำจากสมองดีขึ้น ห้ามจัดท่านอนคว่ำ หรือนอนศีรษะต่ำ
- ดูแลให้พักผ่อนบนเตียง ดูแลให้ทำกิจวัตรประจำวันบนเตียงในช่วงเฝ้าระวังอาการใน 24 ชั่วโมง
แรก หลีกเลี่ยงการรบกวนผู้ปวยไห้มากที่สุดจัดสิ่งแวดล้อมที่เงียบสงบ ให้ผู้ป่วยพักผ่อน
-
-
-
สาเหตุ
-
-
ชนิดเลือดออกในเนื้อสมอง เกิดจากหลอดเลือดสมองฉีกขาดหรือแตก ที่มักมีสาเหตุจากโรคความดันโลหิตสูง หรือจากโรคหลอดเลือดสมองโป่งพองผิดปกติ หรือเกิดจากภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติ
พยาธิสภาพ
หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (ischemic stroke) หลอดเลือดสมองอุดตันเกิดได้จากลิ่มเลือดที่เกิดขึ้นในบริเวณอื่นไหลไปตามกระแสเลือดจนไปอุดตันที่หลอดเลือดสมอง หรืออาจเกิดจากมีลิ่มเลือดก่อตัวในหลอดเลือดสมอง และขยายขนาดใหญ่ขึ้นจนอุดตันหลอดเลือดสมอง
ส่วนสาเหตุของหลอดเลือดสมองตีบอาจเกิดจากการสะสมของไขมันในหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดตีบแคบ มีความยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพในการลำเลียงเลือดลดลง
ในภาวะสมอขาดเลือดในบริเวณที่เลี้ยงด้วยหลอดเลือด middle cerebral จะมีอาการอ่อนแรงทั้งแขนและขาและชาครึ่งซีก
ถ้าเลือดไปเลี้ยงที่สมองลดลงต่ำกว่า 30-35 มิลลิลิตร / 100 กรัมของเนื้อเยื่อสมอง / 10 นาทีจะเกิดการขาดเลือด (Ischemia)
ถ้าเลือดไปเลี้ยงสมองลดลงเหลือต่ำกว่า 20 มิลลิลิตร / 100 กรัมของเนื้อเยื่อสมอง / นาทีเนื้อเยื่อสมองจะตาย (infarction) และถ้าเลือดไปเลี้ยงสมองลดลงเหลือต่ำกว่า 15 มิลลิลิตร / 100 กรัมของ เนื้อเยื่อสมอง / นาทีจะเกิดเนื้อเยื่อสมองตายเป็นบริเวณกว้าง (Massive infarction)
-
-
-
คือ
โรคหลอดเลือดสมองหรือโรคอัมพาตเป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อย ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ก่อให้เกิดความพิการได้มากที่สุด มี 2 ชนิดตามพยาธิสภาพของเนื้อสมองที่ผิดปกติคือ “โรคหลอดเลือดสมองชนิดสมองขาดเลือด (Ischemic stroke)” และ ”โรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกในเนื้อสมอง(Intracerebral hemorrhage)
**rCBF น้อยกว่า 10-15 มิลลิลิตร/100กรัม/นาที
rCMRO2 น้อยกว่า 1-1.3 มิลลิลิตร/100 กรัม/นาที จะทำให้เกิดสมองตาย(infarction)ในสมองส่วนนั้นได้
-
-
-
-
-
ผ่อนพรรณ อรุณแสง. 2558. การประเมินภาวะสุขภาพผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ:การประยุกต์ใช้ในการพยาบาล
พิมพ์ครั้งที่2. ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาลัยมหิดล. 2557. การพยาบาลอายุรศาสตร์1 พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพฯ: หจก.เอ็นพี
เพรส
ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทราทร. 2553. ประสาทวิทยาทันยุค. กรุงเทพฯ:บริษัทพราวเพรส
สุภัทรพร เทพมงคล. 2561. เวชศาสตร์นิวเคลียร์ในโลกสมอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
นิจศรี ชาญณรงค์. 2550. การดูแลรักษาภาวะสมองขาดเลือดในระยะเฉียบพลัน. กรุงเทพฯ: โรง
พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย