Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นักคณิตศาสตร์ (โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (Johann Carl Friedrich Gauss)…
นักคณิตศาสตร์
โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ (Johann Carl Friedrich Gauss)
พัฒนาเรขาคณิตนอกระบบยุคลิด
ค้นพบทฤษฎีของฟังก์ชันเชิงวงรี
คิดค้นวิธีกำลังสองน้อยที่สุด
เป็นผู้แรกที่สามารถพิสูจน์ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิตซึ่งเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขา
คิดค้นทฤษฎีจำนวนสมัยใหม่
ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton)
คิดค้นทฤษฎีบททวินาม
ค้นพบวิธีการกระจายอนุกรม
คิดค้นวิชาแคลคูลัส
เป็นคนแรกที่ใช้เศษส่วนเลขชี้กำลัง (fractional indices) และนำเรขาคณิตเชิงพิกัดมาใช้หาคำตอบจากสมการไดโอแฟนทีน
ผู้ค้นพบ Newton’s identities,Newton’s method
เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (Leonhard Euler)
เป็นคนแรกที่ประยุกต์แคลคูลัสเข้าไปยังวิชาฟิสิกส์
เป็นคนแรกที่ใช้ฟังก์ชัน f(x) บรรยายถึงความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร
คิดค้นทฤษฏีจำนวนเชิงวิเคราะห์
ริเริ่มวิชาโทโปโลยีและทฤษฎีกราฟ
คิดค้นและริเริ่มใช้สัญลักษณ์สำคัญทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ e แทนลอการิทึมธรรมชาติ, Σ แทนผลรวม, i แทนหน่วยจินตภาพ และยังเป็นผู้นำสัญลักษณ์ π (pi) มาใช้แทนอัตราส่วนเส้นรอบวงต่อเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลมจนได้รับความนิยม
อาร์คิมิดีส (Archimedes)
หนังสือว่าด้วยการวัดวงกลมและการประมาณค่า π (pi)
คิดค้นสูตรคณิตศาสตร์สำหรับคำนวณพื้นที่และปริมาตรของรูปทรงต่างๆมากมาย
หนังสือว่าด้วยด้วยดุลยภาพของระนาบและการคำนวณจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุ
คิดค้นสมการหาปริมาตรของรูปทรงที่เกิดจากพื้นผิวที่ได้จากการหมุน
ปีแยร์ เดอ แฟร์มา (Pierre de Fermat)
พัฒนาเรขาคณิตวิเคราะห์
ปรับปรุงทฤษฎีจำนวน
พัฒนาทฤษฎีพื้นฐานที่นำไปสู่การค้นพบวิชาแคลคูลัส
พัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็นร่วมกับปาสกาล
พีทาโกรัส (Pythagoras)
สร้างสูตรคูณ
สร้างทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีคณิตศาสตร์มากมาย
ทฤษฎีโลกกลมและหมุนรอบตัวเอง
กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ (Gottfried Wilhelm Leibniz)
คิดค้นวิชาแคลคูลัส
คิดค้นและริเริ่มใช้สัญลักษณ์และเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญจำนวนมาก
คิดค้นระบบเลขฐานสอง
เรอเน เดการ์ต (René Descartes)
วางรากฐานปรัชญากลุ่มเหตุผลนิยม (Rationalism) ซึ่งเป็นแนวคิดปรัชญาหลักในยุโรปสมัยศตวรรษที่ 17 และ 18
สร้างวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์
ยุคลิด (Euclid)
หนังสือตำราเรขาคณิต Division of Figures, Data และ Phacnomena
หนังสือ Elements ที่เป็นต้นแบบของระบบคณิตศาสตร์ในปัจจุบัน
แบร์นฮาร์ด รีมันน์ (Bernhard Riemann)
ทฤษฎีฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน
Riemann surface ซึ่งริเริ่มนำโทโพโลยีมาใช้ในวิชาคณิตวิเคราะห์
พัฒนาแนวคิดเรื่องอินทิกรัลที่รู้จักดีในชื่อ Riemann integral
พัฒนาเรขาคณิตเชิงอนุพันธ์