Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีปัญหา กลุ่ม3 (Necrotizing Enterocolitis : NEC (Rx…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีปัญหา
กลุ่ม3
Necrotizing Enterocolitis : NEC
อาการและอาการแสดง
Term : มีอาการเมื่อ 48-96 hr
Pre term : มีอาการเมื่อ 7-14 วัน /2เดือน
Gastrointestinal
ท้องอืด
Abdominal tenderness, มีก้อนในท้อง
กินได้ไม่ดี มีนมค้างในกระเพาะ
มีเลือดปนในอุจจาระ ,มีจุดเลือดออกที่ผิวหนัง
อาเจียน ,ท้องเดิน
Systemic
ซึม ,หยุดหายใจ
Temp. Change
ภาวะแทรกซ้อน
Hypoglycemia
ระบบเลือดไหลเวียนไม่ดี ,shock,septicemia
Abnormal coagulation
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ที่ทำให้เกิดการเครียดทั้งระยะคลอดและหลังคลอด
การตรวจร่างกาย
abdominal distension
gastric aspirates
bilious vomitting
bloody stools
lethargy
apnea/bradycardia
hypoperfusion
hypotension
Temperature instability
Visible loops of bowel
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Clinitests
Occult blood
CBC ,platelet count
Group match , PT ,PTT
Electolyte
H/C , Urinalysis , Stool culture ,CSF culture ,เพาะเชื้อน้ำในช่องท้อง
ภาพถ่ายรังสี
ระยะแรก : ileus
ต่อมา : pneumatosis intestinalis
Portal venous gas
Ascites
Pneumoperitoneum
Rx
NPO ทันที
ใส่สายสวนกระเพาะอาหารทางปาก gastric lavage
แก้ไขความผิดปกติของelectolyte ภาวะเลือดเป็นกรด ภาวะซีด
ให้ยาปฏิชีวนะ ampicillin/gentamycin
ถ้ามีลำไส้ทะลุควรใช้ metronidazole/clindamycin ร่วม
Rx ภาวะhypoglycemia เกล็ดเลือดต่ำ
กรณีมีการหยุดหายใจ ดูแลให้ออกซิเจน /เครื่องช่วยหายใจ
การเริ่มอาหารทางลำไส้ ควรเริ่มด้วยน้ำเกลือแร่ นมเจือจางก่อน แล้วค่อยๆเพิ่มความเข้มข้นนมจนเป็นปกติ ,เพิ่มนมวันละ 20ml/kg/day
กรณีอาการรุนแรงขึ้น ต้อง X-rayช่องท้องเป็นระยะ เพื่อติตามดูว่างลำไส้ทะลุหรือไม่ ถ้ามีลำไส้ทะลุ Rx. ผ่าตัด เอาส่วนที่เน่าตายออก เพื่อควบคุมภาวะ sepsis รักษาส่วนที่ดีไว้ให้ยาว
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะลำไส้ทะลุ เนื่องจากลำไส้มีการติดเชื้อและขาดเลือดไปเลี้ยง
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการท้องอืด อาเจียน นมค้างในกระเพาะผิดปกติ ถ่ายอุจจาระผิดปกติ
ไม่ซึม v/sปกติ ดูดนมได้ดี
ไม่พบเชื้อในสิ่งส่งตรวจ ผลการตรวจห้องปฏิบัติการผิดปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
สังเกตอาการผิดปกติและประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินอาหาร เช่น การมีอาหารเหลือค้างในกระเพาะ ท้องอืด อาเจียนมีน้ำดีปน bowel sound น้อย/ไม่มี
ใส่ O-G tube เพื่อระบายลมและ gastric content ดูดออกให้เป็นระยะ และบันทึกปริมาณ content ที่ดูดออกทุก 4-8 hr.
ติดตามผลเลือด เช่น HGB WBC CBC Platelet count Electolyte ผลการเพาะเชื้อ และผล X -ray เป็นระยะๆ
NPO เพื่อให้ลำไส้ได้พัก และติดตามประเมินการทำงานของลำไส้ ถ้าดีขึ้นจะใช้เป็นแนวทางพิจารณาให้อาหารทางปาก
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารทางหลอดเลือดดำ และยาปฏิชีวนะตามแผมการรักษา
สังเกตและบันทึกอาการอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น เช่น อุจจาระปนเลือด BP ต่ำ ซึม หยุดหายใจ Pช้า Tempต่ำ เป็นต้น
Neonatal Sepsis
อาการและอาการแสดง
ทางเดินอาหาร : ดูดไท่ดี ท้องอืด อาเจียน ท้องเสีย หน้าท้องแดง ตับม้ามโต
ระบบประสาท : ซึม กระสับกระส่าย สั่น ชัก กล้ามเนื้ออ่อนแรง รีเฟล็กซ์ลดลง กระหม่อมหน้าโป่งตึง ร้องเสียงเเหลม
ระบบหายใจ : RRไม่สม่ำเสมอ เร็ว ลำบาก ปีกจมูกบาน Apnea เขียว
ผิวหนัง : เหลือง มีจุดเลือดออก ผื่น จ้ำเลือด ตุ่มหนอง ผิวหนังแข็ง
การไหลเวียนโลหิต : ซีด ตัวลายเป็นจ้ำ ผิวหนังเย็น ชื้น BP ต่ำ HRเร็ว/ช้า
เมตาบอลิซึม : hypoglycemia , ภาวะกรด
ทั่วไป : ซึม ร้องนาน ไม่ดูดนม ดูไม่ค่อยสบาย มีไข้/ตัวเย็น
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
มารดาขณะตั้งครรภ์ เช่น ไข้ ผื่น ต่อมน้ำเหลืองโต การสัมผัสกับผู้ป่วย การติดเชื้อจาการมีเพศสัมพันธ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
จำนวนนิวโตรฟิล
6 hr - 5,400-13,000
12 hr - 7,800-14,500
24 hr. - 7,200-12,600
ิ
band form
ปกติ ไม่เกิน 0.6
ESR
48 hr. น้อยกว่า4mm/hr
7 วัน น้อยกว่า 10mm/hr
24 hr. แรก ช้าไม่เกิน2mm/hr
ย้อมดูเม็ดเลือดขาวชั้น buffy coat ,การตรวจเกล็ดเลือด
Rx
Rx เฉพาะ
ทราบชนิดของเชื้อที่ก่อโรค
ใช้ ATB ตามผล sensitivity
ไม่ทราบเชื้อ
ATB แกรมบวก : penicillin,ampicillin
ATB แกรมลบ : gentamycin
สงสัยว่าทารกมีเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแกรมลบ ให้เปลี่ยนเป็น cefotaxine
Rx. ประคับประคอง
จัดสิ่งแวดล้อมให้ทารกสามารถควบคุมอุณหภูมิร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ
ให้สารน้ำสารอาหารที่เพียงพอกับปริมาณที่ร่างกายต้องการทางหลอดเลือดดำ หรือทางปาก รักษาระดับกรด-ด่างของร่างกาย
ติดตามเฝ้าระวัง และแก้ไขภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น เช่น ภาวะช็อกจาการติดเชื้อ ภาวะบิลิรูบินสูงในเลือด
Rx. เสริมภูมิคุ้มกัน
IVIG
รักษาเสริมด้วยเม็ดเลือดขาว
เปลี่ยนถ่ายเลือด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ทารกมีการติดเชื้อทั่วร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการของการติดเชื้อ เช่น ไม่ซึม ดูดนมได้ปกติ v/sปกติ
ไม่มีเชื้อในเลือด/น้ำไขสันหลัง
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้ทารกได้รับยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง ครบถ้วนตามแผนการรักษา
รักษาอุณหภูมิร่างกายทารกให้อยู่ในระดับปกติ และควบคุมอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมให้เหมาะกับการปรับอุณหภูมิของทารก ทารกที่อุณหภูมิร่างกายต่ำอาจต้องอยู่ในตู้อบ
ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายทารกและสิ่งแวดล้อม จัดให้ทารกได้พักผ่อนอย่างเต็มที่
ประเมินและสังเกตอาการผิดปกติเป็นระยะ เช่น ซึม ไม่ดูดนม ท้องอืด อาเจียน ตัวเหลือง ชัก เกร็ง หรือ อื่นๆ
บันทึก v/s เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง อย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ โดยเฉพาะการติดเชื้อที่เริ่มเร็ว จึงควรแยกทารกที่มีการติดเชื้อจากทารกป่วยอื่น และควรล้างมือด้วย้ำยาฆ่าเชื้อก่อนและหลังให้การพยาบาลผู้ป่วยแต่ละราย รวมทั้งการทำลายเชื้อจากอุปกรณ์ หรือสิ่งอื่นที่ใช้กับผู้ป่วยอย่างถูกวิธี
Neonatal Jaundice
อาการและอาการแสดง
ระยะเฉียบพลัน
ทารกจะเริ่มมีอาการซึมลง ไม่ยอมดูดนม ร้องเสียงแหลม สูง แขน ขาอ่อนแรง ต่อมาในระยะหลังทารกจะมีอาการไข้ ตัวเกร็งแข็ง ชักเกร็ง (opisthotonos) ร้องกวนมาก ถ้าชักเกร็งมากอาจตายได้
ระยะเรื้อรัง
ทารกอาจมปัญหา หูหนวก ชัก ตัวแข็งเกร็ง การเคื่ลอนไหวของร่างกายผิดปกติ ผิดปกติ มีปัญหาด้านพัฒนาการและสติปัญญาได้ โดยเฉพาะในทารกที่มีอาการเหลืองผิดปกติมากๆ มีบิลิรูบินสูงเกิน 20 มก./ดล.
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ประวัติครอบครัวที่บ่งบอกภาวะ Rh incompatibility
ประวัติการเกิดของทารก เช่น appgar ต่ำ บาดเจ็บคลอดก่อนกำหนด ตัดสายสะดือช้า
อาการผิดปกติอื่นๆ ของทารกที่ร่วมกับอาการตัวเหลือง เช่น อาเจียน ซึมลง กินได้ไม่ดี น้ำหนักตัวน้อย หายใจเร็ว อุณหภูมิร่างกายไม่คงที่
ตรวจร่างกาย
ทารกจะเริ่มมีอาการเหลืองที่ใบหน้า จากนั้นจะสังเกตได้ที่ลําตัว แขน ขา (cephalocaudal progression )
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับบิลิรูบินในเลือด
ระดับ direct bilirubin
หมู่เลือดแม่และลูก
direct Coombs’ test
CBC
peripheral blood smear
Glucose-6-Phosphate
reticulocyte count
Rx
การรักษาด้วยการส่องไฟ :phototherapy
การเปลี่ยนถ่ายเลือด
การรักษาด้วยยา
phenobarbital
agar activated charcoal
tin protoporphyrin
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อสมองได้รับอันตรายจากภาวะบิลิรูบินในเลือดสูง และผลข้างเคียงจากการรักษา
เกณฑ์การประเมินผล
ค่าบอลิรูบินในเลือดลดลงเป็นปกติ
ผิวหนัง ตาไม่เหลือง ผิวหนังชุ่มชื้นเป็นปกติ v/sปกติ
ไม่มีอาการแสดงของ kernicterus ไม่ซึม ไม่ชัก ดูดนมไม่ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
สังเกตและประเมินอาการตัวเหลือง เช่น ผิวหนังเลหือง ซึม ไม่ดูดนม อุณหภูมิร่างกายต่ำ หากมีอาการให้รายงานเเพทย์อย่างเร่งด่วน
ดูแลให้ทารกได้รับสารน้ำสารอาหาร และนมตามแผนการรักษาอย่างถูกต้อง
ดูแลให้ทารกได้รับการรักษาโดยการส่องไฟ และเฝ้าระวังผลข้างเคียงของการส่องไฟ
กรณีรักษาด้วยการเปลี่ยนถ่ายเลือด ดูแลเปลี่ยถ่ายเลือดตามแผนการรักษา และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการเปลี่ยนถ่ายเลือด โดยเฉพาะ temp.
ควบคุมอุณหภูมิร่างกายและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
ดุแลและป้องกันการติดเชื้อที่อาจเกิดขึ้น
7.สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ถึงภาวะที่มีการทำลายของเนื้อสมองจากพิษของบิลิรูบิน เช่น ดูดนมไม่ดี ซึมลง ร้องเสียงแหลม หลังแอ่น ตัวเขียว มีอากรชักกระตุก
Respiratory Distress
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็ว (tachypnea) มากกว่า 60 ครั้ง/นาที
หน้าอกบุ๋ม บริเวณช่องซี่โครง ชายโครง
กระดูกล้ินปี่
มีการหายใจโดยที่ทรวงอกและหน้าท้องเคลื่อนไหวไม่พร้อมกัน
เสียงกลั้นหายใจในระยะหายใจออก
(expiratory grunting)
หายใจมีเสียงคราง (moaning)
ปีกจมูกบาน (flaring nose)
อาการเขียวเมื่อหายใจในอากาศธรรมดา
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอดก่อนกําหนด
อาการและอาการแสดง
การถ่ายภาพรังสีปอด
ผลการวิเคราะห์ก๊าซในเลือดจะมี
ลักษณะเลือดขาดออกซิเจน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การหายใจไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากแรกเกิดไม่หายใจ
ิกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการ เช่น การหายใจ อัตราการเต้นของหัวใจ สีผิวและช่วยเหลือกู้ชีพทารกตามอาการ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
keep - PaO2 = 50-70 mmHg
PaCO2 = 40-50 mmHg
pH = 7.25-7.30
ให้ oxygen hood FiO2 0.4
-ถ้าระดับ TcSaO2<90%จะค่อยๆ
เพิ่มปริมาณออกซิเจนเป็น 0.6
การให้สารน้ํา อิเล็คโทรลัยต์ และควบคุม กรดด่าง ให้อาหารนมทางสายให้อาหาร ให้สารอาหารทางหลอดเลือืดดํา
ใช้เครื่องช่วยหายในภาวะ RDS รุนแรง หรือมีภาวะหายใจวาย (respiratory failure )
ติดตามดูผลทางห้องปฏิบัติการเช่น ผลการถ่ายภาพรังสี และผลก๊าซในเลือด เพื่อประเมินภาวะการกายใจลำบาก
เกณฑ์การประเมิน
ไม่มีอาการแสดงของภาวะหายใจลำบาก
ภาพรังสีปอด hypoaeration) หรือ ground glass ไม่พบ air bronchogram
Hyperglycemia
อาการและอาการแสดง
มีน้ำตาลในปัสสาวะมาก
ปัสสาวะมาก
เกิดภาวะขาดน้ำ (dehydration)
เกิดภาวะ hyperosmolarity
การวินิจฉัย
ตรวจระดับน้ำตาลในเลือดด้วยแถบ
ตรวจน้ำตาลเป็นระยะๆ
ตรวจระดับน้ำตาลในปัสสาวะ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ทารกเสี่ยงเกิดอันตรายจากภาวะน้ำตาลสูง
เกณฑ์การประเมิน
ผลการตรวจแถบตรวจน้ำตาล dextrostix
มีค่าปกติคือ < 125 มก./ดล.
ไม่มีอาการแสดงของภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูง
กิจกรรมการพยาบาล
ปรับอัตราการให้กลูโคสให้ลดลงครั้งละ 2 mg/kg/min ต้องระมัดระวังการลดความเร็วของการให้สารละลาย ป้องกันไม่ให้เม็ดเลือดแดงแตก
ให้อินซูลินในอัตรา 0.01-0.1 unit/kg/hr ทางหลอดเลือดดำอย่างต่อเนื่อง
ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดทุก 1 ชั่วโมง จนกว่าจะอยู่ในระดับปกติ
Hypoglycemia
อาการและอาการแสดง
สะดุ้งผวา (jitteriness)
อาการสั่น (tremor)
ตากรอกไปมา (eye rolling)
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ประวัติการตั้งครรภ์
มารดาเป็นเบาหวาน
การใช้ยาระหว่างตั้งครรภ์
การคลอดของมารดา
อายุคครภ์
ตรวจร่างกาย
ตัวใหญ่ อ้วน แก้มยุ้ย
ผมแดงเข้ม
ผมและขนดกดำ
สายสะดือและรกใหญ่
การตรวจห้องปฏิบัติการ
แถบตรวจน้ำตาล dextrostix
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 40 มก./ดล.
ในเด็กที่ไม่แสดงอาการผิดปกติ
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 45 มก./ดล.
ในเด็กที่แสดงอาการผิดปกติ
Serum glucose test
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ทารกเสี่ยงเกิดอันตรายจากภาวะน้ำตาลต่ำ
เกณฑ์การประเมิน
ผลการตรวจแถบตรวจน้ำตาล dextrostix
มีค่าปกติคือ >40 มก./ดล. ในเด็กที่ไม่แสดงอาการผิดปกติ >45 มก./ดล. ในเด็กที่แสดงอาการผิดปกติ
ไม่มีอาการแสดงของภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินค่าระดับน้ำตาลในเลือด DTX ทุกๆ 30 นาที- 1 ชั่วโมง
ในรายที่ไม่แสดงอาการ
ให้กินสารละลายกลูโคสหรือนม (Early feed)
ในรายที่แสดงอาการ
ในสารละลายกลูโคสในรูปแปของเด็กโทรส 10% ทางหลอดเลือดดำ 2 มล/กก. เพิ่มครั้งละ 1-2 มก/กก/นาที
ให้ยา hydrocortisone 5 มก./กก./วัน แบ่งวันละ 2 ครั้ง