Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคมของผู้ป่วยเด็กและครอบครัวและประเด็นจริยธรรมทางการพยาบ…
การพยาบาลด้านจิตสังคมของผู้ป่วยเด็กและครอบครัวและประเด็นจริยธรรมทางการพยาบาลเด็ก
สาเหตุที่ทำให้เด็กเกิดความวิตกกังวล/เครียด
Separation การแยกจาก
บิดา-มารดา-ผู้เลี้ยงดู (อายุ 6 เดือน / 1-4ปี)
ของใช้ส่วนตัว /ของเล่น /สัตว์เลี้ยง
เพื่อน /โรงเรียน /ครู
Pain and Discomfort
จากการตรวจรักษา
วัดปรอท /ฉีดยา /เจาะเลือด
จากอาการของโรค
- จากอาการของโรค
Loss of Controlสูญเสียการควบคุม
ผูก /ยึด /ตรึง (restrains)
ถูกจำกัดกิจกรรม
จะถูกดมยาสลบ
การใส่เฝือก
การให้ IV.fluid
Loss of bady image
ถูกผ่าตัด
ผมล่วง ศีรษะโลน
ความพิการต่อโรค
Death of Anxiety
อาการของโรค
การผ่าตัด
Environment of hospitalสภาพแวดล้อม
ไม่คุ้นเคย / ลึกลับ / แปลก / น่ากลัว
คนแปลกหน้า
แสง เสียง สถานที่ที่แปลกไป
อุปกรณ์ที่ใช้ตรวจรักษา
ของใช้ประจำวันที่แปลกไป
ความหมาย
ความเจ็บป่วยและการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นภาวะวิกฤติที่เด็กต้องเผชิญทำให้เกิดความเครียด
ปฏิกริยาตอบสนองความเจ็บป่วยของเด็ก
ด้านร่างกาย
หัวใจเต้นเร็ว RR PB
เหงื่อออก ผิวหนังซีดเย็น
อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ
เบื่ออาหาร ท้องอืด อาเจียน
ปฏิกริยาตอบสนองต่อความเจ็บปวด (Pain)
Tachycardia
Tachpnea
Oxygen sat
Pallor
เหนื่อยง่าย
หลับได้น้อย
ไม่มีแรง
ด้านอารมณ์และพฤติกรรม
อารมณ์กลัว (fear)
อารมณ์ก้าวร้าว (aggression)
อารมณ์ซึมเศร้า (depression)
พฤติกรรมถดถอย (regression)
อารมณ์กังวล (anxiety)
โดยเฉพาะ“ การพลัดพราก” (separation anxiety)
ระยะประท้วง (protest)
พฤติกรรมก้าวรัาว
ระยะหมดหวัง (despair)
ซึมเศร้า แยกตัว
ระยะปฏิเสธ (denial)
สนใจส่งแวดล้อมมากขึ้น
การพยาบาล :
การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวลจากการแยกจาก
อนุญาตให้บิดา-มารดาเฝ้าบุตรได้
. อนุญาตให้อยู่กับบุตรขณะทำหัตถการได้ (ถ้าต้องการ/เตรียมตัว)
แนะนำบิดา-มารดาให้บอกเด็กว่าจะไม่ทอดทิ้ง/สัญญา
อธิบายปฏิกิริยาแยกจาก
ของเด็กให้บิดามารดาเข้าใจ
การพยาบาลเพื่อลดความรู้สึกสูญเสียอวัยวะ/ภาพลักษณ์
ช่วยเหลือแนะนำการปรับตัว
ไม่ละเลยสุขวิทยาส่วนบุคคล
. บอกความเหมือนและแตกต่างของร่างกายภายหลังจากการผ่าตัดหรือความเจ็บป่วย
การพยาบาลเพื่อลดความกลัวและความเจ็บปวด
จากอาการของโรคและทำหัตถการ
เลือกวิธีการเตรียมผู้ป่วยก่อนทำหัตถการให้เหมาะกับวัย
อธิบายการรักษาอย่างเป็นรูปธรรม
ศึกษาวิธีการรักษา /ความเจ็บปวด
ใช้ภาษาเข้าใจง่าย /ไม่น่ากลัว /ไม่หวาดเสียว
การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวล/กลัวตาย
อยู่เป็นเพื่อนไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย
แนะนำให้ญาติดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
สังเกตปฏิกิริยาที่บอกถึงความกลัว/วิตกกังวล
ดูและสุขวิทยาส่วนบุคคลเสมอ
อธิบายแนวทางการรักษาให้ชัดเจน
การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวล
เกี่ยวกับสถานที่/บุคคล
สัมผัส แตะต้อง
แนะนำกฏระเบียบ
สร้างสัมพันธภาพ
ปฏิกริยาตอบสนองความเจ็บป่วยของครอบครัว
ปฏิกริยาของพี่-น้องเด็กป่วย (Sibling)
ว้าเหว่ กลุ้มใจ กลัว อิจฉา
ฉันจะป่วยและต้องอยู่โรงพยาบาลหรือไม่
ฉันเป็นสาเหตุของความเจ็บป่วยหรือไม่
เป็นความจริงหรือจินตนาการ
พ่อ-แม่จะทอดทิ้งฉันหรือไม่
ปฏิกริยาของบิดา-มารดาเด็กป่วย
โกรธ (anger)
ปฏิเสธ (denial)
ต่อรอง (bagaining)
หงุดหงิดคับข้องใจ (frustration)
ปัจจัย
ปัจจัยด้านโรคและความเจ็บป่วยของเด็ก
ลักษณะและประเภทของโรค
เฉียบพลัน,เรื้อรัง,คุกคาม
. ระยะเวลาของการเจ็บป่วยและการอยู่ รพ.
Short term hospital
Long term hospital
ขาดรัก (Emotional deprivation syndrome)
ซึมเศร้า/ไม่มีชีวิตชีวา/ ไม่รื่นเริง /แยกตัวไม่เกี่ยวกับใคร
Life treatening illness ซึมเศร้า หมดหวัง เพ้อคลั่ง
ระดับความรุนแรงของโรค
ปัจจัยด้านตัวเด็กเอง
วัยเตาะแตะ/วัยก่อนเรียน
มักเข้าใจความหมายของการเจ็บป่วยผิดไป
โดยเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ที่เคยพบ + จิตนาการ
วัยเรียน
เข้าใจความเจ็บป่วยถูกต้อง
บอกสาเหตุของความเจ็บป่วยที่ง่ายๆได้
วัยทารก
รับรู้ /รู้สึก ถึงการเลี้ยงดูที่ผิดไปจากเดิม
สามารถรับรู้ความเจ็บปวด /การแยกจากผู้เลี้ยงดูได้
ยังไม่เข้าใจความหมายของการเจ็บป่วย
วัยรุ่น
เข้าใจความเจ็บป่วยถูกต้อง
บอกสาเหตุ และกระบวนการของการเจ็บป่วยได้:
ปัจจัยด้านครอบครัวของเด็ก
ความสัมพันธ์ของครอบครัว
การสนับสนุนของญาติ /เพื่อน
ความเชื่อของครอบครัว
คำถาม
ปฏิกิริยาตอบสนองความเจ็บป่วยของเด็กด้านอารมณ์แลพฤติกรรมเกี่ยวกับอารมณ์กังวลจะกังวลจากสาเหตุอะไรมากที่สุด
สิ่งแวดล้อมที่แปลกไป
ตอบ 2.
ความเจ็บปวดจากการรักษา
การพลัดพรากแยกจาก
ภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป