Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Study ด.ช.ภูมิ อายุ3ปี 7เดือน 25วัน (สมาธิสั้น (การดูแล…
Case Study
ด.ช.ภูมิ อายุ3ปี 7เดือน 25วัน
สมาธิสั้น
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
ปัจจัยด้านการทำงานของระบบสมอง
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
การเลี้ยงดู
Case : มารดาให้ข้อมูลว่าตนเองและสามีต้องทำงาน
จึงไม่มีเวลาดูแลบุตรเท่าที่ควร(ดูแลจากผู้ปกครองถือเป็นปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมอย่างหนึ่งที่ส่งผลต่อพฤติกรรมและพัฒนาการของเด็กเป็นอย่างมากหากขาดการกระตุ้นพัฒนาการและเป็นต้นแบบที่ดีจะทำให้เด็กไม่มีการเรียนรู้พฤติกรรมที่เหมาะสมทำให้มีพฤติกรรมที่ผิดปกติไปจากเด็กอื่นๆ)
ใช้สารเสพติดก่อน/หลังตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดง
สมาธิสั้น (inattention) เด็กมักจะให้ความสนใจ
อยู่กับเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้ไม่นานเท่าคนทั่วไป วอกแวกง่าย
อยู่ไม่นิ่ง (hyperactivity) เด็กมักซุกซนผิด
ปกติ ลุกเดินอยู่นิ่งไม่ได้
อาการหุนหันพลันแล่น (Impulsivity) เด็กจะมีอาการวู่วาม ควบคุมตนเองไม่ได้ ไม่สามารถรอได้ ขาด
ความยับยั้งชั่งใจ
Case : วอกแวกง่าย ไม่ฟังผู้อื่น วิ่งวุ่นปีนป่ายตลอดเวลา
รอคอยไม่เป็น สอดแทรกผู้อื่นในการทำกิจกรรม
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อครอบครัว
บิดามารดาวิตกกังวล
ผลกระทบต่อสังคม
เด็กกลุ่มนี้จะมีการก่ออาชญากรรมและถูกจับเนื่องจากทำผิดกฎหมายมากกว่าเด็กที่ไม่เป็นโรคนี้
ลักขโมย พกอาวุธ ขายบริการ และมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
การใช้สารเสพติด
ผลกระทบต่อเด็ก
การเกิดอุบัติเหตุหรือ
การบาดเจ็บมีมากกว่าเด็กปกติ
เข้ากับเพื่อนไม่ได้
การเรียน
Case : เด็กมักวิ่งเล่นปีนป่ายและีหัล้มบ้างแต่ไม่รุนแรง
มีปัญหาเรื่องเข้ากับเพื่อนไม่ได้
การดูแล
ให้เด็กนั่งหน้าชั้นหรือใกล้ผู้ทำกิจกรรมเพื่อคอยกำกับดูแลเด็กให้มีความตั้งใจในการทำกิจกรรม
ให้แรงเสริมทางบวกทันทีเมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่เหมาะสม
การเฝ้าระวังอุบัติเหตุ
เมื่อเด็กมีพฤติกรรมก่อกวนควรใช้วิธีพูดเตือนหรือแยกให้อยู่อย่างสงบประมาณ 5 นาทีหลีกเลี่ยงการดูด่าหรือตีเด็กเพราะจะทำให้เด็กสูญเสียการควบคุมตนเองมากขึ้น
ฝึกเด็กให้ทำงานทีละอย่างให้สำเร็จ แล้วจึงเริ่มงานชิ้นใหม่ต่อไป
การรักษา
พฤติกรรมบำบัด
ครอบครัวบำบัด
การรักษาด้วยยา
Delayed Speech
เกณฑ์การพจารณา
ไม่สามารถพูดคำที่มีความหมายได้เลย เมื่ออายุ 15 เดือน
ไม่สามารถพูดเป็นคำที่มีความหมายอย่างน้อย 3 คำ เมื่ออายุ 18 เดือน (ไม่นับคำที่เป็นการเรียกคนหรือสัตว์เลี้ยงที่คุ้นเคย เช่น แม่ พ่อ ปู่
ไม่สามารถพูดคำที่มีความหมายต่างกัน 2 คำต่อเนื่องกันและพูดคำศัพท์น้อยกว่า 50 คำ เมื่ออายุ 24 เดือน
ไม่สามารถพูดประโยคที่สมบรูณ์หรือสามารถสื่อสารให้คนอื่นฟังรู้เรื่องน้อยกว่าร้อยละ 50 ของสิ่งที่เด็กพูด
เมื่ออายุ 36 เดือน (ประโยคที่มีประธานและกริยาเป็นอย่างน้อย เช่น น้องร้อง แม่ไปไหน)
อาการและอาการแสดง
เด็กไม่ค่อยเข้าใจคำพูดของผู้อื่น ทำให้ตอบสนองคำพูดของผู้อื่นไม่ถูก
สื่อสารกับผู้อื่นด้วยคำพูดไม่ได้
ไม่สามารถเล่าเรื่องต่อเนื่องกัน
จักคำศัพท์ในวงจำกัดและเรียบเรียงถ้อยความได้ไม่ดี
เริ่มพูดคำที่มีความหมายได้ล่าช้ากว่าเด็กอื่นๆ ซึ่งอยู่ในวัยเดียวกัน
สาเหตุ
1.การได้ยินผิดปกติ (Hearing Loss)
ภาวะสติปัญญาบกพร่อง/ปัญญาอ่อน (Intellectual Disability)
ออทิสติก (Autistic Spectrum Disorder)
พัฒนาการทางภาษาผิดปกติ (Specific Language Impairment) เด็กจะมีพัฒนาการทางภาษาล่าช้ากว่าพัฒนาการด้านอื่นๆ และล่าช้ากว่าเด็กวัยเดียวกันโดยไม่ได้มีความผิดปกติของสมองหรือการได้ยิน
ขาดการกระตุ้นพัฒนาการที่เหมาะสม (Lack of environmental speech language stimulation) การเลี้ยงดูมีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการด้านภาษาโดยส่วนใหญ่มักเป็นสาเหตุของภาวะพูดช้า
ควรดูแลช่วยเหลือ
ให้การเลี้ยงดูที่เอื้อต่อพัฒนาการทุกด้านของเด็กเช่น การเล่น การเล่านิทาน การพูดคุยกับเด็ก ไม่ให้ดูโทรทัศน์มากเกินไป และควรสังเกตพัฒนาการด้านต่างๆของเด็กอย่างใกล้ชิด
ตรวจประเมินเพื่อหาสาเหตุของภาวะพูดช้าและให้การรักษาที่ตรงกับสาเหตุ รวมถึงใช้อุปกรณ์ช่วยฟังถ้ามีความบกพร่องทางการได้ยิน
ส่งเสริมพัฒนาการด้านภาษาและด้านอื่นๆที่บกพร่องอย่างสม่ำเสมอ ดูแลเด็กให้มีโอกาสได้รับการส่งเสริมพัฒนาการในชีวิตประจำวัน และครอบครัวควรต้องมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการ
การใช้ยา การใช้ยาอาจจำเป็นเพื่อบรรเทาปัญหาพฤติกรรมบางอย่างเช่น ซน ไม่อยู่นิ่ง ต่อต้าน อาละวาด ก้าวร้าว แต่ไม่มียาหรือวิตามินหรืออาหารเสริมชนิดใดที่ทำให้พัฒนาการดีขึ้น
ตรวจหาและรักษาความผิดปกติที่พบร่วมเช่น ปัญหาซน สมาธิสั้น การใช้กล้ามเนื้อมือและสายตา ทักษะทางสังคม และปัญหาการเรียนรู้