Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการ การเปลี่ยนแปลง (ความจําเป็นในการเปลี่ยนแปลง (•…
การจัดการ
การเปลี่ยนแปลง
ความหมายและ
แนวคิดการเปลี่ยนแปลง
สิ่งที่แตกต่างจากเดิม เป็นผลมาจากกระบวนการเปลี่ยนผ่าน
ที่กระทําโดยปัจจัยแวดล้อมที่ เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง
จนส่ิงเก่าไม่สามารถคงสภาพเดิมอยู่ได้
ความเปลี่ยนแปลง เป็นเหตุการณ์ กระบวนการ และ หลักการ
ความจําเป็นในการเปลี่ยนแปลง
• เพื่อยังคงสร้างมูลค่าเพิ่มแบบเดิม หรือแบบใหม่ (Value Creation)
• เพื่อความยั่งยืน (Sustainability)
• เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเอง (Self Reliability)
• เพื่อความสามารถในการอยู่รอด (Survivability)
• เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน (Competitive Advantage)
หลักการจัดการเปลี่ยนแปลง
▪ การจัดการการเปลี่ยนแปลง ความสําคัญอยู่ที่ การเปลี่ยนผ่านจากส่ิงเก่าไปสู่สิ่งใหม่
▪ การเปลี่ยนผ่านให้สิ่งใหม่ เกิดการสานต่อ ปรับตัวจนบรรลุเป้าประสงค์
▪ ผลสําเร็จของการจัดการเปลี่ยนแปลงอยู่ที่เมื่อดําเนินการแล้ว ต้องเพิ่มขีดความสามารถ
ปัจจัยที่มีผลต่อความสําเร็จ
ของการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยด้านระบบ(System)
เช่นระบบการทํางานเครื่องมืออุปกรณ์สภาพแวดล้อมในการทํางานเป็นต้น
ดังนั้น ผู้บริหาร/ผู้นํา ต้องคํานึงถึงการปรับเปลี่ยนระบบและบุคลากร
ให้สัมพันธ์กันและมีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยด้านบุคคล(People)
ความรู้ความสามารถของบุคลากรที่พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
บุคคลที่สําคัญต่อการเปลี่ยนแปลง
ผู้อุปถัมภ์การเปลี่ยนแปลง
(Change Sponsors)
เข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่ตนสนับสนุนว่า
มีความสําคัญอย่างไรจะเปลี่ยนแปลงอะไร
และมีอะไร เปลี่ยนแปลงบ้าง
จัดการ และจัดสรรทรัพยากรที่จําเป็น
เช่น งบประมาณ บุคลากร และเวลา
ทํางานกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง
สื่อสาร และช่วยแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
เป็นประธานในการเปลี่ยนแปลง
มีภาวะผู้นําสูง
ผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง
(Change Advocacy)
เข้าใจการเปลี่ยนแปลงน้ัน
สามารถโน้มน้าวจิตใจผู้ฟัง
เป็นผู้ที่คนในองค์การรับฟัง
และน่าเช่ือถือ
ทํางานร่วมกับผู้อื่นได้
ผู้นําการเปลี่ยนแปลง
(Change Agent)
เข้าใจการเปลี่ยนแปลง
สามารถในการวางแผน
บริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงนั้น
ทํางานร่วมกับผู้อื่น
ในการเปลี่ยนแปลงและแก้ปัญหา
สามารถประสานงานกับทั้ง
ระดับบนและระดับล่าง
ผู้ที่จะต้องเปลี่ยนแปลง
(Change Target)
ผู้ที่ต้องถูกเปลี่ยนแปลงบางอย่าง
แนวทางการจัดการ
การเปลี่ยนแปลง
การวางแผนการเปลี่ยนแปลง
อย่างเป็นระบบ
การสร้างทีมเจ้าภาพ
การพัฒนาวิสัยทัศน์ของการเปลี่ยนแปลง
การวางแผนและกําหนดตัวชี้วัด
การพัฒนาโครงสร้างที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง
ดําเนินการและหยั่งรากการเปลี่ยนแปลง
การใช้ที่ปรึกษาในการ
บริหารการเปลี่ยนแปลง
ที่ปรึกษาที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ
ท่ีปรึกษาด้านกระบวนการ
2.1 วินิจฉัยองค์การเบื้องต้น
2.3 พัฒนากลยุทธ์
2.2 ประเมินความพร้อมขององค์การ
2.4 การดําเนินการ
บทบาทของฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในการเปลี่ยนแปลง
ช่วยฝ่ายบริหารในการจัดจ้างและ
กําหนดขอบเขตงานของบริษัทท่ีปรึกษา
จัดหาตําแหน่งงานใหม่หรือทําเรื่องเลิกจ้าง
ทำให้ต้องสูญเสียงานเดิมจากผลการเปลี่ยนแปลง
วางแผนการฝึกอบรมแก่บุคลากร
ข้อควรหลีกเลี่ยงในการบริหาร
การเปลี่ยนแปลง
ไม่ควรใช้รูปแบบหรือเครื่องมือสําเร็จรูป
ที่ได้รับการพัฒนาจากภายนอก
ไม่ควรเสี่ยงใช้วิธีวางแผนการเปลี่ยนแปลง
ทั้งองค์การแบบส่ังการจากฝ่ายบริหาร
ระดับสูงขององค์การ
ไม่ควรให้ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เป็นเจ้าภาพการเปลี่ยนแปลง
ไม่ควรให้ความสําคัญกับงานด้านเทคนิคอย่างเดียว
ไม่ควรพยายามเปลี่ยนทุกอย่างในคร้ังเดียว
เครื่องมือรายการ
ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง
(Outcomes)
ศักยภาพของบุคลากร บุคลากรมีทักษะความรู้
ความสามารถใหม่ในการปฏิบัติงาน
ในกระบวนการใหม่ได้หลัง
การเปลี่ยนแปลงสิ้นสุดลง
กระบวนการทํางาน
กระบวนการและวิธีปฏิบัติงานใหม่ได้มีการนําไปปฏิบัติหลังจากการเปลี่ยนแปลงเสร็จสิ้นลง
องค์ประกอบขององค์การที่สนับสนุน
ให้การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
(Enablement)
การฝึกอบรม หลักสูตรฝึกอบรมได้รับการปรับปรุงเพื่อสนับสนุนงานใหม่
ผู้บริหารแสดงพฤติกรรมที่เป็นตัวอย่างและสนับสนุนการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นอย่างดี
การปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์การ/หน้าที่ความรับผิดชอบ อย่างเป็นรูปธรรม ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง
การปรับเปลี่ยนกลไกการบริหารทรัพยากรบุคคล ให้สอดคล้องการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นรูปธรรม