Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ กรณีศึกษา II (การตรวจร่างกาย,…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
กรณีศึกษา II
การตรวจร่างกาย
vital signs
T= 39.5
P= 110/min
R= 32 /min
BP=130/70 mmHg
O2 sat = 85 %
ฟังเสียงปอดพบ เสียง wheezing ทั้ง 2 ข้าง
ริมฝีปากและปลายมือปลายเท้าเริ่มเขียว
ABG : pH 7.2 , PaCO2 55 %, HCO3 34 , PaO2 75 %
ผล ABG บ่งชี้ว่าผู้ป่วยรายนี้มีภาวะ Interprete Partial compensation respiratory acidosis with mild hypoxemia
แพทย์วินิจฉัย : Respiratory failure
ภาวะ Respiratory failure เกิดขึ้น เนื่องจากผู้ป่วยเป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD) ทำให้เกิดการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ ผู้ป่วยหายใจหอบเหนื่อยมากขึ้นส่งผลให้คาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น ออกซิเจนต่ำลง( PaCO2 55% PaO275%)ทำให้การระบายอากาศลดลง
การใช้เครื่อง ventilator
แพทย์ตั้งค่าเครื่อง ดังนี้
Mode CMV : Vt=500 cc, I:E =1:3 RR = 20 ครั้ง/นาที MV = 8 LPM PEEP = 4 cmHO2 FiO2=40% (0.4)
Mode ของเครื่องช่วยหายใจแบบ volume มี 5 mode
PCV มักใช้ในARDS รุนแรง ที่airway pressure สูงมาก
PSV ควบคุมเวลาในการหายใจเข้าออกผู้ป่วย
CPAP ช่วยโดยการอัดลมเข้าในท่อเพื่อรักษาระดับแรงดันบวกตลอดทั้งการหายใจเข้าและออก
CMV ไม่สามารถหายใจด้วยตนเองได้
SIMV นิยมใช้เมื่ออาการดีขึ้น ต้องการหย่าเครื่อง
ใช้โหมด CMV เพราะผู้ป่วยรายนี้มีอาการหายใจเหนื่อยมากขึ้นโหมดนี้จะช่วยในผู้ป่วยที่หายใจด้วยตนเองไม่เพียงพอ
Vt=500 cc - ปริมาตรอากาศ 500 cc. ที่ไหลเข้าออกจากปอดผู้ป่วยต่อการหายใจ 1 ครั้ง
I:E =1:3 – สัดส่วนของเวลาที่หายใจเข้า 1 วินาที ต่อเวลาที่หายใจออก 3 วินาที
RR = 20 ครั้ง/นาที – อัตราการหายใจ 20 ครั้งใน 1 นาที
MV = 8 LPM –คือปริมาณลมหายใจออกทั้งหมดใน1นาทีมีหน่วยเป็น(L/min) (MV=Vt x RR)
PEEP = 4 cmH20 –คือการกำหนดให้มีแรงดันบวกในตอนหายใจออก ทำให้ลมค้างอยู่บางส่วนในปอด
FiO2= 40% (0.4) – ค่าความเข้มข้นของออกซิเจน (0.21-1.00)ควรน้อยกว่า0.6
ภาวะแทรกซ้อน
VAP
1.ดูแลทำความสะอาดช่องปากและฟันทุก 2 ชั่วโมง
2.การดูแลจัดท่านอนและการพลิกตัว
3.การดูแลการให้อาหารทางสายยาง
4.การดูดเสมหะ
5.การดูแลท่อช่วยหายใจและอุปกรณ์ของเครื่องช่วยหายใจ
การเกิดเลือดออกในทางเดินอาหาร การป้องกัน ใช้ยาป้องกันเลือดออกทางเดินอาหาร
วางแผนหย่าเครื่อง
ระยะที่ 2. ระยะการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ระยะที่ 1. ระยะก่อนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ระยะที่ 3 ระยะหลังการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยให้ปลอดภัย
1.ประเมินภาวะพร่องออกซิเจนจากระดับความรู้สึกตัว ลักษณะการหายใจ อาการหอบเหนื่อยตรวจวัดสัญญาณชีพทุก4ชั่วโมง
ดูแลการทำงานการทำงานของเครื่องช่วยหายใจให้เป็นปกติได้รับ O2 ตามแผนการรักษาและดูแลโดยยึดหลัก IC และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
Suction เมื่อมีเสมหะโดยใช้หลักปราศจากเชื้อป้องกันการเกิดการสำลัก
บันทึกปริมาตรอากาศที่หายใจออกของผู้ป่วยแต่ละครั้ง อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง เพื่อประเมินความก้าวหน้าของผู้ป่วย
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ Arterial Blood Gas หรือ O2 sat เพื่อประเมินความก้าวหน้าของผู้ป่วย