Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Inflammatory Bowel Disease (อาการ/อาการแสดง (อาการอื่นๆร่วม…
Inflammatory Bowel Disease
ความหมาย
ลำไส้ใหญ่อักเสบเรื้อรัง
สาเหตุ
ภูมิคุ้มกันทำลายตนเอง
พันธุกรรม
สมาชิกในครอบครัวมีประวัติป่วยเป็นลำไส้อักเสบ
ภูมิคุ้มกันทำลายเซลล์ในระบบทางเดินอาหาร
สิ่งแวดล้อม
อาการ/อาการแสดง
ท้องร่วง
มักถ่ายมีมูกเลือดปน
อาจถ่ายวันละ 10-20 ครั้ง
ท้องผูก
ปวดบีบที่ท้อง
เจ็บที่ลำไส้ตรง มีเลือดออก
น้ำหนักตัวลด
อ่อนเพลีย
เป็นไข้
อาการอื่นๆร่วม
ปวดบริเวณข้อต่อ
พบความผิดปกติบริเวณตาหรือตับ
พบแผลในปาก
การรักษา
รักษาด้วยยา
อาการอ่อน-รุนแรง
Aminosalicylates (Mesalamine,Osalazine,Balsazide)
รับประทาน/สวนเข้าทางทวารหนัก
อาการรุนแรง
corcoticosteroids
รับประทาน/ฉีดเข้า IV
Immunomodulators
G-Moccaptopucine(bmp), Azathioprine,Methotrexate,cyclosporine
การผ่าตัด
protocolectomy
ผ่าตัดลำไส้ใหญ่และไส้ตรงออก
Ileoanal Anastomosis
ลำไส้เล็กส่วนปลายมาต่อกับกล้ามเนื้อชั้นนอกของทวารหนัก
การรักษาด้วยซิไปโอติก
การดูแลให้คำแนะนำ
การจัดการด้านอาหาร
เป้าหมายหลักที่สำคัญของการรักษา
การบรรเทาอาการของโรค (เช่น ท้องเสีย ปวดท้อง การเสียเลือดทางอุจจาระ) อาการข้างเคียงที่เกิดขึ้น (เช่น ฝี ฝีคัณฑสูตร) และป้องกันการกลับเป็นซ้ำได้
ภาวะแทรกซ้อน
Osteoporosis
พัฒนาการล่าช้า
Primary Sclerosing Cholangitis
Toxic Megacolon
CA colon
การวินิจฉัย/การตรวจร่างกาย
การตรวจเลือด
ประเมินภาวะโลหิตจางเเละการอักเสบ
RBC ต่ำ
WBC สูง
การตรวจอุจจาระ
ดูค่า WBC ที่อยู่ในอุจจาระ
การส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่(Colonoscopy)
X-ray
การสวนเเป้งเเบเรียม (ฺBarium Enema)
นำสารทึบรังสีเข้าไปทางลำไส้ตรง ฉีดที่ลำไส้ เเละสะท้อนภาพออกมาทางฟิล์มเอกซเรย์
CT SCAN
การตัดชิ้นเนื้อตรวจ
การตรวจร่างกาย: เน้นเป็นพิเศษในการตรวจบริเวณช่องท้องและทวารหนัก
กลุ่มอาการของโรค IBD
Ulcerative Colitis (UC) ลำไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผล
เป็นโรคที่เกิดเฉพาะบริเวณ
"ลำไส้ใหญ่" เท่านั้น
อาการ
มีอาการท้องเสียอย่างรุนแรง
ถ่ายปนมูกหรือเลือดสด
อาการที่บริเวณลำไส้ส่วนปลายสุดจะพบว่ามีอาการปวดถ่ายตลอดเวลา
ชนิดของโรคลำไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผล
Ulcerative proctitis: มีลำไส้ตรงเพียงส่วนเดียวที่เป็นโรค
Proctosigmoiditis: ลำไส้ตรงและส่วนล่างสุดของลำไส้ใหญ่ที่เรียกว่า sigmoid colon เป็นโรค
Left-sided colitis: เกิดที่ลำไส้ตรง ลำไส้ใหญ่ส่วน sigmoid ลำไส้ใหญ่ส่วน descending จนถึงแนวโค้งของลำไส้บริเวณใกล้ ๆ ม้าม
Pan-ulcerative หรือ total colitis เกิดกับลำไส้ใหญ่ทุกส่วน
โรคโครห์น (Crohn’s disease)
พบได้ในทุกส่วนของระบบทางเดินอาหารซึ่งเริ่มจากช่องปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ และทวารหนัก
มักพบคือส่วนปลายของลำไส้เล็กและส่วนต้นของลำไส้ใหญ่
อาการ
ไม่มีอาการท้องเสียแต่อาจรู้สึกปวดท้อง
ภาวะซีด
น้ำหนักตัวลดลง
ภาวะแทรกซ้อน
ลำไส้อุดตัน
แผลปริที่ขอบทวารหนัก (Anal fissures)
ป็นรอยฉีกเล็กๆ ที่รูทวารหนักทำให้คัน เจ็บ หรือมีเลือดออกได้
แผลหลุม (Ulcers)
เป็นแผลเปิดเป็นหลุมในทางเดินอาหาร
รูแผล (Fistulas)
แผลเปิดเป็นรูที่กระเพาะอาหารหรือลำไส้ทำให้ของที่อยู่ในทางเดินอาหารรั่วออกไปสู่ส่วนอื่นของร่างกาย
ขาดสารอาหาร เช่น วิตามินและเกลือแร่
มะเร็งลำไส้ใหญ่
ภาวะแทรกซ้อนที่ไม่ได้เกิดในทางเดินอาหาร
ปวดตา ตาแดง หรือคันตา
เจ็บปาก
ข้อบวมหรือปวดข้อ
ผิวเป็นตุ่มหรือมีผื่นและเจ็บ
กระดูกพรุน
โรคโครห์นกับการตั้งครรภ์
ผู้หญิงที่เป็นโรคโครห์นอาจมีบุตรยาก
มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์ตั้งแต่แท้ง ทารกเสียชีวิต และพัฒนาการผิดปติ
สิ่งสำคัญของผู้ป่วยโรคโครห์น
การงดสูบบุหรี่ ผู้ป่วยที่งดสูบบุหรี่ได้จะทำให้การเกิดกลับเป็นซ้ำของโรคลดลงร้อยละ 60 ภายในช่วงเวลา 2 ปี
อาหาร
อาหารไม่ได้เป็นสาเหตุของการเกิด IBD แต่มีส่วนทำให้อาการของโรคแย่ลงขณะที่มีอาการกำเริบ เป้าหมายของภาวะโภชนาการสำหรับผู้ป่วย IBD จึงอยู่ที่การจัดการแบบแผนการบริโภคอาหารเพื่อลดอาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร ในขณะเดียวกันก็รักษาระดับสารอาหารที่จำเป็นเอาไว้ แพทย์จะประเมินสภาวะทางโภชนาการเพื่อดูว่าผู้ป่วยได้รับปริมาณพลังงาน วิตามิน และเกลือแร่เพียงพอหรือไม่ หากผู้ป่วยไม่ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ แพทย์อาจแนะนำให้ผู้ป่วยใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทอาหารเหลว เป็นต้น