Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abruptio Placenta รกลอกตัวก่อนกำหนด (Nursing care (1.ประเมินลักษณะและตำแห…
Abruptio Placenta
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การลอกตัวของรกในตำแหน่งที่รกเกาะในตำแหน่งปกติ(บริเวณส่วนบน/ยอดมดลูก) หลัง GA20 wk.จนถึงก่อนทารกคลอด
สาเหตุ
ประวัติ
มีประวัติรกลอกตัวก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน
มีประวัติแท้งบุตร
Preterm labor
มีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนคลอด
เคยเคลอดบุตรหลายครั้ง
ได้รับอุบัติเหตุ
ผลจากโรค
PIH
Chronic renal failure
มดลูก
Twin
Polyhydramnios
PROM
myoma uteri
ทารก
สายสะดือสั้น External version
อื่นๆ
Folic acid deficiency
สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ เสพสารเสพติด
Abdomen trauma
ออกแรงกดต่อ inferior vena cava ทำให้เพิ่มความดันใน intervillan space
มีเพศสัมพันธ์ที่รุนแรง
Choriohemangioma
Circumvallate placenta
ปัจจัยเสี่ยง
HT
PIH
pre-eclampsia
eclampsia
abortion
ชนิด
พยาธิสภาพ
Revealed hemorrhage / External type
ลอกตัวที่ขอบรก มีเลือดสีคล้ำค่อยๆไหลออกช่องคลอด
Concealed hemorrhage / Internal type
ลอกตัวที่ตรงกลาง เลือดจะขังอยู่ระหว่างส่วนของรกที่แยกตัวกับผนังมดลูก ไม่มีเลือดออกมาให้เห็นทางช่องคลอด หาFHSไม่เจอ
เกิดจาก
มีการลอกตัวของรกด้านหลัง เลือดขังอยู่หลังรก
รกลอกตัวหมดแต่ถุงน้ำหล่อทารก (Amnion,Chorion) ยังไม่แยกตัวออกจากผนังมดลูก
หัวทารกกดส่วนล่างของมดลูกทำให้เลือดออกไม่ได้
เลือดที่ออกซึมเข้าถุงน้ำคร่ำ
Mixed / Combined type
ลอกตัวจากตรงกลาง มีเลือดขัง เมื่อเลือดออกมากขึ้นทำให้เซาะแทรกถุงน้ำคร่ำและผนังมดลูกแล้วผ่านออกมาทางปากมดลูก
ลักษณะทางคลินิกตามความรุนแรง
Grade 1
(mild severe)
ลอกตัว < 25%
Grade 2
(moderate severe)
ลอกตัว 25-65%
Grade 3
(severe)
ลอกตัว > 65%
พยาธิสภาพ
มีการฉีกขาดของเส้นเลือดของรก เลือดออกในชั้น decicua basalis เกิดเป็น decicua hematoma เกิดการแยกตัวของรกจากตำแหน่งที่รกเกาะ
เมื่อมีเลือดออกหลังรก เลือดจะเซาะออกมาจนขอบรกแยกออกจากผนังมดลูก และเซาะระหว่างถุงน้ำคร่ำกับผนังมดลูกออกทางปากมดลูก
อาการ/อาการแสดง
Bleed/vag
contraction
uterine tenderness
คลำส่วนของทารกไม่ชัด --> Fetal distress
Shockขากการเสียเลือด
HF สูง
Preterm labor
วินิจฉัยโรค
อาการ/อาการแสดง
PV
คลำไม่พบรก
ถุงน้ำคร่ำตึง
เจาะถุงน้ำคร่ำอาจมีเลือดปน
การตรวจรกหลังคลอด
มีเลือดคั่งหลังรก
รอยถูกกดบริเวณรกด้านแม่
LAB
Hb. Hct. ลดลง
Apt test น้ำหล่อทารก พบ เลือดแม่ปน
ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดลดลง
PT PTT เพิ่ม
U/S
เฉพาะที่มีเลือดคั่งหลังรกมาก
ผลกระทบ
มารดา/การตั้งครรภ์
Shock จากการเสียเลือดมาก
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (Consumptive coagulopathy)
ทำให้เกิด Disseminated intrevascular coagulation (DIC)
ทำให้เกิด hypofibrinogennemia (fibrin<150มล./ดล.)
Renal failure
Fetal to maternal hemorrhage
PPH
Acute pituitary necrosis (Sheehan's syndrome)
Uterine rupture
Endometiosis
ทารก
Asphyxia
Preterm labor
LBW จาก IUGR
DFIU
Abnormality ระบบประสาทส่วนกลาง
Anemia
ติดเชื้อ
Nursing care
1.ประเมินลักษณะและตำแหน่งที่เจ็บ
2.ประเมินลักษณะ UC
3.เฝ้าระวัง shock
4.ประเมินเลือดที่ออกจากช่องคลอดจากผ้าอนามัย
5.ประเมินสภาพทารกในครรภ์ ติดNSTตลอดเวลา
6.แนะนำและใช้เทคนิคผ่อนคลายความเจ็บปวด ดูแลให้ยาแก้ปวดถ้าจำเป็น
7.ติดตาม LAB -- Hb. Hct. PT PTT
8.สังเกตอาการของ DIC
9.ดูแลให้ Oxygen ตามแผนการรักษา หลีกเลี่ยงการเกิด Supine hypotension --ให้แม่นอนตะแคงซ็าย
10.ดูแลความสุขสบาย
การรักษา
1.การดูแลเบื้องต้น
Admit
ประเมินสภาพแม่และทารกในครรภ์
NPO
ให้ IV fluid
2.การพิจารณาคลอด
N/D
แม่ปกติ ทารกไม่มีfetal distress
ความก้าวหน้าการคลอดดี
DFIU
C/S
fetal distress แม่เสียเลือดมาก
ปากมดลูกไม่พร้อม
poor labor progress
3.รักษาภาวะแทรกซ้อน
Coagulation defects, Acute renal failure
maintain maternal circulation
ป้องกันรักษา shock
แก้ไขด้วย Clotting factors