Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคฉี่หนู (Leptospirosis) (ลักษณะอาการ (มีไข้สูงเฉียพลัน 38-40 องศา,…
โรคฉี่หนู (Leptospirosis)
สาเหตุของโรค
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย มักติดต่อมาสู่คนทางบาดแผล รอยถลอกตามผิวหนัง เยื้อบุทางปาก ตา จมูก
คนส่วนใหญ่ติดโรคจากการย่ำที่น้ำท่วมขัง ย่ำพื้นดินที่ชื้นแฉะ และแช่น้ำในห้วยหนองคลองบึง ตั้งแต่ 2 ชั่วโมงขึ้นไป
สามารถติดเชื้อผ่านทางการรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อที่ออกมากับปัสสาวะ
เชื้อแบคทีเรีย
Leptospirosis
รูปร่างเป็นเกลียวสว่าน
ปลายทั้งสองข้างโค้งงอคล้ายตะขอ
ย้อมติดสีแกรมลบจางๆ
เคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็ว โดยการบิดตัว
ลักษณะการติดต่อ
สัตว์ที่เป็นแหล่งรังโรค เช่น หนู โค กระบือ สุกร สุนัข และแมว จะเก็บเชื้อไว้ที่ไต แล้วจะปล่อยออกมาพร้อมปัสสาวะ
เชื้อจะปนเปื้อนอยู่ในแหล่งน้ำขัง ดินที่เปียกชิ้น พืชผัก
เข้าร่างกายได้ 2 ทาง คือ
ทางตรง
โดยการสัมผัสหรือถูกสัตว์ที่มีเชื้อฉี่หนูกัด
ทางอ้อม
ปนเปื้อนในแหล่งน้ำ เข้าสู่ร่างกายผ่านเยื้อบุต่างๆ
หายใจเข้าเอาละอองนิวเคลียสจากเหลวที่ปนเปื้อนเชื้อ
รับประทานอาหารหรือดื่มน้ำที่มีเชื้อฉี่หนูปนเปื้อน
ระยะการฟักตัว
เฉลี่ย 10 วัน แต่พบได้ตั้งแต่ 2 วัน ถึง 26 วัน
ลักษณะอาการ
มีไข้สูงเฉียพลัน 38-40 องศา
หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง
ตาแดงแบบไม่มีขี้ตา
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อรุนแรง โดยเฉพาะ บริเวณน่อง โคนขา หลัง และเอว
ตับไตวาย ดีซ่าน มีเยื้อหุ้มสมองอักเสบ
ไอเป็นเลือด ไอมีเสมหะ เจ็บหน้าอก หายใจขัด
การตรวจวินิจ
การวินิจฉัยจากการประวัติย่ำโคลนหรือแช่น้ำนานๆ
การเพาะแยกเชื้อฉี่หนูจากเลือด น้ำไขสันหลัง ปัสสาวะ
การตรวจหาแอนติบอดีในซีรัม
การรักษาพยาบาล
ผู้ที่มีประวัติลุยน้ำและมีอาการติดเชื้อ ให้ไปพบแพทย์โดยเร็วที่สุด ภายใน 4-7 วัน
การให้ยากลุ่มเพนิซิลิน (Penicilin),เตตระไซคลิน (Tetracyclin), สเตรปโตมัยซิน(Streptomycin), อิริโธมัยซิน(Erythomycin)
การป้องกันแหละควบคุม
สวมถุงมือยาง รองเท้าบูท ทุกครั้งที่สัมผัสแหล่งน้ำ
ห้ามดื่มน้ำตามแหล่งธรรมชาติ
รับประทานอาหารที่สะอาด ปรุงสุกใหม่ๆ