Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hydrocephalus with Seizure with Diabetes insipidus (Hydrocephalus…
Hydrocephalus with Seizure with Diabetes insipidus
Hydrocephalus
พยาธิสภาพ
ถ้าอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งมีปริมาตรที่เพิ่มมากขึ้นจะทำให้ความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น ดังนั้นจะเห็นได้ว่าปริมาณของน้ำตะไคร้สันหลังที่ได้สร้างขึ้นนี้มีมากกว่าปริมาตรของช่องในโพรงกะโหลกศีรษะและช่องสันหลังจะรับไว้ได้ถ้าหากมีการอุดตันหรือบกพร่องในการดูดซึมจะเกิดภาวะ hydrocephalus
น้ำไขสันหลังสร้างมาจาก choroid plexus ใน ventricle ถ้าในสมองมีการอุดกั้นของทางผ่านของน้ำไขสันหลัง หรือมีความผิดปกติของการดูดซึมน้ำไขสันหลังเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้มีน้ำไขสันหลังคั่งในช่อง suparachnoid และเวนตริเคิลมากขึ้น ทำให้เกิด hydrocephalu
สาเหตุ
1.การสร้างมากเกิน เช่น เนื้องอกของChoroid plexus(Choroid plexus papilloma)
2.การอุดตันทางเดินน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง แบ่งเป็น 2แบบ
1.Obstructive hydrocephalusหรือNon communicating hydrocephalus มีการอุดตันระหว่างโพรงสมองกับช่องใต้เยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง(Subarachnoid space) สาเหตุมีได้หลายอย่าง เช่น เนื้องอกสมอง,เลือดออกในโพรงสมองและเนื้อสมอง,ความพิการแต่กำเนิด(Aqueductal stenosis),การติดเชื้อ เช่น พยาธิตืดหมูในสมอง(Neurocysticcercosis)เป็นต้น มีความแตกต่างระหว่างความดันในโพรงสมองกับช่องใต้เยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง(Subarachnoid space) หากมีการเจาะหลังเพื่อระบายน้ำหล่อสมองและไขสันหลังทำให้เกิดความแตกต่างระหว่างความดันในกะโหลกศีรษะและช่องไขสันหลังทำให้เกิดการเคลื่อนของสมองส่วนCerebellumผ่านForamen of magnum กดก้านสมองผู้ป่วยเสียชีวิต จึงเป็นข้อห้ามในการเจาะหลัง(Lumbar puncture)
2.Communicating hydrocephalus มีการติดต่อระหว่างโพรงสมองและช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง(Subarachnoid space )การอุดตันเกิดมักเกิดขึ้นนอกโพรงสมองที่ช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง(Subarachnoid space :Cistern) ของสมอง,ไขสันหลังและArachnoid villi สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดคือเลือดออกใต้ช่องเยื่อหุ้มสมอง(Subarachnoid hemorrhage)และการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง
Case:เกิดจาการสร้างน้ำไขสันหลังมากตั้งแต่อยู่ในครรภ์
3.การดูดซึมผิดปกติ สาเหตุจาก การอุดตันหลอดเลือดดำ(Venous sinus thrombosis),หรือการอักเสบArachnoiditis จากการติดเชื้อหรือเลือดออก ก่อให้เกิด Communicating hydrocephalus
อาการ
หัวบาตร หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับGrowth curve ปกต รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง ปวดศีรษะ,ตามัว,อาเจียน ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้ เนื่องจากมีการกดบริเวณMid brainที่Superior colliculs ตาเขเข้าในมองไปด้านข้างไม่ได้เนื่องจากCN 6TH Palsy มองเห็นภาพซ้อน รีเฟลกซ์ไวเกิน การหายใจผิดปกติ การพัฒนาการช้ากว่าปกติ
Csae: ศีรษะโต การหายใจผิดปกติ หายใจหอบ การพัฒนาการช้ากว่าปกติ หน้าผากโป่นเด่น เส้นรอบศีษะ 50 เซ็นติเมตร
การวินิจฉัย
1.การตรวจด้วยภาพทางรังสีวินิจฉัย(Diagnostic Imaging)
CT,MRI Brain ตรวจหาสาเหตุเช่น เนื้องอก,ถุงน้ำเป็นต้น และตรวจพบภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง
1.โพรงสมองโตกว่าปกติ
2.การบวมน้ำรอบโพรงสมอง(Periventricular edema periventricular low density on CT
Periventricular hyperintensity T2WI on MRI)
3.การเปลี่ยนตำแหน่งของอวัยวะรอบโพรงสมอง
2.การตรวจด้วยคลื่นเสียงอัลตราซาวน์(Ultrasound)
3.การตรวจด้วยการส่องไฟฉาย(Transillumination test
4.การเจาะหลัง(Lumbar puncture)
5.การเจาะถุงน้ำคร่ำ(Amniocentesis)
Case: Ultrasound brain: Alobar holoprosencephaly
CT brain:Alobar holoprosencephal
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการสร้างน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
ผู้ป่วยได้รับยา Phenobarb 22 mg IV q 12 hr Dilantin 15 mg IV q 12 hr Dexamethazone 4 mg IV stat
2.การรักษาด้วยการผ่าตัด
1.)การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย(ExternalVentricularDrainage,EVD,Ventriculostomy)
2.)การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย ผ่าตัดใส่สายระบายจาก
โพรงสมองลงช่องท้อง(Ventriculo-peritoneal shunt)
โพรงสมองลงช่องหัวใจ(Ventriculo-atrial shunt)
โพรงสมองลงช่องปอด(Ventriculo-pleural shunt)
โพรงสมองลงช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง(Ventriculo- cistern magna shunt(Torkildsen shunt)
โพรงสมองทารกในครรภ์ลงถุงน้ำคร่ำ(Transabdominal percutaneous Ventriculo-amniotic shunt)
Case1: ผ่าตัดทำ ใส่สายระบายโพรงสมองลงช่องท้อง(Ventriculo-peritoneal shunt)
Seizure
พยาธิสภาพ
เซลล์ประสาทใน cerebral hemorrhage ทำงานผิดปกติ ทำให้คลื่นสมองแสดง epileptic discharges
สาเหตุ
1.โรคลมชัก
3.ความผิดปกติทางเคมีในเลือด
4.ภาวะไข้สูงในเด็ก
2.การได้รับสารพิษ
5.รอยโรคที่สมอง
6.การขาดออกซิเจน
เป็นโรค Hydrocephalus
ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวตั้งแต่อยู่ในท้อง คือ Holoprosencephaly
อาการ
ชักทั้งตัว
ชักแบบเหม่อลอย
ชักเกร็ง
ชักแบบชักสะดุ้ง
ชักกระตุก
ชักกระตุกและเกร็ง
ชักเฉพาะที่
ชักแบบทั้งตัว
ชักแบบไม่รู้ตัว
Case: ผู้ป่วยมีชักกระตุกทั้งตัวประมาณ 4-5 นาที
การวินิจฉัย
CT scan
EEG
MRL
Case: CT brain:Alobar holoprosencephal
การรักษา
กลุ่มยา Other seizure ยา Phenobarbital Phenytoin carbamazepine valproate
กลุ่มยา Absense ยา antiepiletic drung
กลุ่มยา Mylonic ยา clonazepam
Case: ผู้ป่วยได้รับยา Phenobarb 22 mg IV q 12 hr Dilantin 15 mg IV q 12 hr Dexamethazone 4 mg IV stat
Diabetes insipidus
การรักษา
วิธีการรักษาจะขึ้นอยู่กับสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการเบาจืด โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดปริมาณปัสสาวะที่ผู้ป่วยปัสสาวะในแต่ละวัน ทั้งนี้ผู้ป่วยจะต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างภาวะขาดน้ำ วิธีฏิบัติคือ พกน้ำดื่มติดตัวอยู่เสมอ และหมั่นจิบน้ำบ่อย ๆ ในปริมาณที่แพทย์กำหนดเพื่อควบคุมปริมาณปัสสาวะ และไม่ให้ร่างกายขาดน้ำ
ารรักษาโรคเบาจืดที่เกิดจากจากความผิดปกติของสมอง เนื่องจากโรคเบาจืดชนิดนี้เกิดจากระดับฮอร์โมนแอนติไดยูเรติกไม่เพียงพอ ดังนั้นการรักษาจึงมุ่งเน้นไปที่การทดแทนปริมาณฮอร์โมนที่ขาดไป ด้วยฮอร์โมนสังเคราะห์ที่มีชื่อว่าเดสโมเพรสซิน (Desmopressin) แต่ถ้าหากอาการไม่รุนแรงมากนัก ผู้ป่วยอาจไม่จำเป็นต้องรักษา และเพิ่มปริมาณการดื่มน้ำให้มากขึ้นแทน โดยในการรักษาแพทย์อาจให้ผู้ป่วยใช้ยาชนิดพ่น ยารับประทาน หรือยาฉีดในการรักษาขึ้นอยู่กับความสะดวกของผู้ป่วย ทว่าหากผู้ป่วยมีความผิดปกติของต่อมใต้สมอง
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยวิธีการสแกนเอ็มอาร์ไอ (MRI Scan)
การตรวจด้วยการงดน้ำ
การทดสอบด้วยฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก (Vasopressin Test)
การตรวจปัสสาวะ
สาเหตุ
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
โรคบางชนิดที่ส่งผลให้สมองบวม
การผ่าตัด
เนื้องอกที่สมองส่วนไฮโปทาลามัส หรือต่อมใต้สมอง
การสูญเสียเลือดที่ไปหล่อเลี้ยงต่อมใต้สมอง
ความผิดปกติทางพันธุกรรมซึ่งเกิดขึ้นได้น้อย
อาการ
กระหายน้ำบ่อยผิดปกติ ผู้ป่วยจะกระหายน้ำ และรู้สึกเหมือนกระหายน้ำตลอดเวลาแม้ว่าจะดื่มน้ำเข้าไปในปริมาณที่มากแล้วก็ตาม
ร้องไห้ผิดปกติ
หงุดหงิดง่าย
มีอัตราการเติบโตช้ากว่าที่ควรจะเป็น
ปัสสาวะบ่อยและมากกว่าปกติ
2 ชนิด
โรคเบาจืดที่เกิดจากความผิดปกติของสมอง (Cranial Diabetes Insipidus) เป็นชนิดของโรคเบาจืดที่พบได้บ่อยที่สุด ซึ่งเกิดจากความเสียหายของต่อมใต้สมอง หรือสมองส่วนไฮโปทาลามัส มีหลายสาเหตุ เช่น ผลพวงจากการติดเชื้อที่สมอง การผ่าตัด เนื้องอกที่สมอง หรือการบาดเจ็บที่ศีรษะ จนทำให้สมองส่วนไฮโปทาลามัสไม่สามารถสร้างฮอร์โมนที่ควบคุมการปัสสาวะได้
โรคเบาจืดที่เกิดจากความผิดปกติของไต (Nephrogenic Diabetes Insipidus) เป็นโรคที่เกิดจากระบบการทำงานของไตไม่สามารถตอบสนองต่อฮอร์โมนแอนติไดยูเรติกได้ โดยเป็นผลจากความเสียหายของไต หรือการใช้ยาบางชนิด เช่น ลิเทียม ซึ่งเป็นยาที่ใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิต เป็นต้น