Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้ำ (การป้องกันและควบคุม (เมื่อถูกสุนัขกัดควรรีบไ…
โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้ำ
สาเหตุของการเกิดโรค
ติดต่อจากสัตว์เลือดอุ่นโดยเฉพาะ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
สุนัข แมว โค กระบือ ม้า สกั๊งค์ บีเวอร์ กระรอก ค้างคาว
โดยเชื้อจะแพร่เข้าสู่ร่างกายของทางบาดแผล รอยขีดข่วนทางผิวหนัง เยื้อบุของปาก ตา หรือจมูก
เชื้อที่ทำให้เกิดโรค
เรบีสไวรัส (Rabies virus)
รูปร่างคล้ายหัวกระสุนปืน มีขนาดประมาณ 10 นาโนเมตร
เชื้อนี้จะถูกทำลายได้ง่ายด้วยความร้อน ความแห้ง น้ำยาฆ่าเชื้อ สบู่ ผงซักฟอก
การติดต่อ
เชื้อนี้จะออกมากับน้ำลายของสัตว์ที่ติดเชื้อ
เข้าสู่ร่างกายทางบาดแผลที่สัตว์หรือลอยข่วน
คนสามารถติดเชื้อได้ก่อนที่สัตว์จะแสดงอาการ 3-5 วัน
ระยะการฟักตัว
เฉลี่ย 3-8 สัปดาห์ แต่พบได้ตั้งแต่ 9 วัน ถึง 7 ปี ขึ้นอยู่กับร่างกาย จำนวนเชื้อ ตำแหน่งของบาดแผล
ลักษณะอาการ
แบ่งออกเป็น 4 ระยะ
ระยะที่ 2 รู้สึกชาและเจ็บเสียวบริเวณแผลที่ถูกกัด
ระยะที่ 3 มีอาการทางจิตประสาท ได้แก่ อารมณ์อ่อนไหว ตกใจง่ายต่อสิ่งเร้า หงุดหงิด กล้ามเนื้อเกร็ง
ระยะที่ 4 ผู้ป่วยเริ่มรู้สึกตัวกล้าม เนื้ออ่อนแรง บางรายรับประทานอาหารและดื่มน้ำได้บ้าง และต่อมาเริ่มเป็นอัมพาตของกล้ามเนื้อต่างๆ และเสียชีวิต
ระยะที่ 1 มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เจ็บคอ หายใจขัด เบื่ออาหาร พูดตะกุกตะกัก
การรักษาพยาบาล
เมื่อผู้ป่วยเริ่มแสดงอาการ จะรักษาเฉพาะของโรคไม่ได้ผล จึงรักษาตามอาการ
การป้องกันและควบคุม
เมื่อถูกสุนัขกัดควรรีบไปฉีดวัคซีนป้องกันโรค จำนวน 5 เข็ม ที่กล้ามเนื้อต้นแขน
วันที่ 0 (เข็มที่1)
วันที่ 3 (เข็มที่2)
วันที่ 7 (เข็มที่3)
วันที่ 14 (เข็มที่4)
วันที่ 28 หรือ 30(เข็มที่5)
นำสุนัขไปฉีดวัคซีน
กำจัดสุนัขและแมวที่เป็นพาหนะ
ไม่ปล่อยสุนัขและแมวที่เลี้ยงไปเดินเล่นในสวนสาธารณะโดยไม่ได้ควบคุมดูแล