Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนพัฒนาสุขภาพ (นโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ (ฉบับที่ 12 (2560 – 2564),…
แผนพัฒนาสุขภาพ
นโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
ฉบับที่ 1(2504-2509)
เน้นการขยายสถานบริการสาธารณสุขให้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ
ปราบปรามและควบคุมโรคติดต่อนั้นได้ดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
ฉบับที่ 2 (2510-2514)
เน้นการวางแผนกำลังคนและการกระจายการพัฒนาสู่ชนบท
เร่งรัดการผลิตบุคลากรทางการแพทย์และการสาธารณสุข
ฉบับที่ 3 (2515-2519)
เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตมากยิ่งขึ้น กำหนดนโยบายประชากรเป็นครั้งแรก
มุ่งเน้นการอนามัยแม่และเด็ก
มีนโยบายการให้บริการรักษาพยาบาลฟรี แก่ผู้รายได้น้อยเป็นครั้งแรกพ.ศ. 2518
ฉบับที่ 4 (2520-2524)
มุ่งเน้นการแก้ไขและลดช่องว่างของปัญหาสาธารณสุข
การให้บริการสาธารณะสุขแบบผสมผสานแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง
มีการฝึกอบรมผสส. / อสม. ครั้งแรกในพ.ศ. 2520
ฉบับที่ 5 (2525-2529)
เน้นการพัฒนาชนบทอย่างผสมผสานโดยชุมชนมีส่วนร่วมภายใต้ระบบของคณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่งชาติ (กชช.)
การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสาธารณสุขมูลฐาน
ฉบับที่ 6 (2530-2534)
ขยายสถานบริการสาธารณสุขให้ครบตามเป้าหมายการยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน
เริ่มแนวคิดเรื่องหลักประกันสุขภาพ
ฉบับที่ 7 (2535-2539)
เน้นความพยายามในการสร้างหลักประกันด้านสุขภาพแก่คนไทยทุกคน
ฉบับที่ 8 (2540-2544)
เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นวัตถุประสงค์หลักเน้นการพัฒนาศักยภาพของคน
เน้นเรื่องความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพให้บริการที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมด้านสุขภาพ
ฉบับที่ 9 (2545-2549)
เน้นสุขภาพคือสุขภาพวะ พัฒนาระบบสุขภาพทั้งระบบ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสุขภาพ
โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ฉบับที่ 10 (2550-2554)
มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง เพื่อสร้างให้สุขภาพดีบริการดีสังคมดี ชีวิตมีความสุขอย่างพอเพียง
ฉบับที่ 11 (2555-2559)
หลักการมุ่งพัฒนาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมมุ่งเน้นการสร้างหลักประกันและการจัดบริการที่ครอบคลุมเป็นธรรมเห็นคุณค่าของการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
ฉบับที่ 12 (2560 – 2564)
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา เพื่อให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
ยึดเป้าหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579 ควบคู่กับกรอบเป้าหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
การปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0
ประเด็นการปฏิรูป ประเทศด้านสาธารณสุข
สภาพปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
1.การดำเนินงานเพื่อให้เกิดหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
2.ความขัดแย้งระหว่างผู้ให้บริการกับผู้รับบริการ
ปัญหาคุณภาพบริการ ทั้งระบบประกันคุณภาพ คุณภาพมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยทั้ง3มิติ คือ ได้รับบริการตามสิทธิ รวดเร็ว และารตอบรับ
การวางแผนกำหนดเครื่องข่ายหน่วยบริการ ทั้งเขตชนบทและเขตเมือง ที่ชัดเจน
ความไมม่ชัดเจนของการกำหนดขอบเขตชุดสิทธิประโยชน์ทำให้มีช่องว่างของการใช้บริการตามสิทธิของประชาชน
ขาดการจัดการและการทำงานในส่วนของบริการสสาธารณสุขที่มุ่งเกิดแผนงานโครงการที่มีประโยชนฺ์ ในระดับประชากร ไม่ใช่ระดับปัจเจก
แนวทางการแก้ไข้ปัญหาสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การพัฒนาความเป็นเลิศใน 4 ด้าน (4 Excellence)
Governance Excellence (บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล)
People Excellence (บุคลากรเป็นเลิศ)
Service Excellence (บริการเป็นเลิศ)
แผนงานที่ 5 : การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster)
โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ
แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
โครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์
โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด
Promotion Prevention & Protection Excellence (ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ)
แผนงานที่ 3 : การลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
โครงการพัฒนาระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพ
โครงการควบคุมโรคติดต่อ
แผนงานที่ 2 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
แผนงานที่ 4 : การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
โครงการคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง (Hot Zone)
แผนงานที่ 1 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย
โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น
โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยทำงาน
โครงการพัฒนาและสร้างเสริมศักยภาพคนไทยกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
BY. SMNC34 BY.Niti