Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Leptospirosis (ข้อวินิจฉัยการพยาบาล (1.ไข้สูงเนื่องจากติดเชื้อ Leptospira…
Leptospirosis
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-
-
-
-
5.ผู้ป่วยและครอบครัวขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค Leptospirosis และวิธีการปฏิบัติตนเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
อาการและอาการแสดง
อาการ
ระยะที่ 2
มีอาการไข้ ประมาณ 1 สัปดาห์ โดยมีช่วงที่ไข้ลงประมาณ 1-2 วัน แล้วกลับมีไข้ขึ้นอีก ระยะนี้มีอาการ ปวดศีรษะ ไข้ต่ำๆ คลื่นไส้อาเจียนแต่ไม่มากเท่าระยะแรก หน้าที่ของตับและไตผิดปกติ
ระยะแรก
ไข้สูงแบบทันทีทันใด ปวดศีรษะ คอแข็ง สับสน ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมาก โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหลัง น่องและต้นคอ คลื่นไส้อาเจียน มีอาการตาแดง ตาตัวเหลือง มีผื่นแดง ตับม้ามโตอาจพบได้แต่ไม่บ่อย
-
การวินิจฉัยโรค
-
2.การวินิจฉัยทางคลินิก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
-
-
WBC leukocytosis (White cell count>12,000) หรือ leukopenian(White cell count< 4,000)
-
BUN, Cretinine สูง , bilirubinสูง
-
-
-
พยาธิสรีรภาพ
Leptospira เข้าสู่ทางผิวหนัง หรือเยื่อบุของคน ภายใน 24 ชั่วโมงจะเข้าสู่กระแสเลือด และกระจายไปตามอวัยวะต่างๆ อาการทางคลินิกของผู้ป่วยโรคเล็ปโตสไปโรสิส เป็นผลจากสาร lipopolysaccharide และโปรตีนบางชนิดที่เป็นส่วนประกอบของผนังหุ้มเซลล์ชั้นนอกของเชื้อเช่น outer membrane protein 1 (OmpL 1) กระตุ้นเซลล์เม็ดเลือดขาวให้เกิดการหลั่งสารต่าง ๆ เช่น สาร tumor necrosis factor มาในกระแสโลหิตมีการศึกษาพบสารโปรตีนชนิดต่าง ๆ ที่เชื้อสร้างขึ้นที่อาจเกี่ยวข้องกับการเกิดพยาธิสภาพต่าง ๆ เช่น leptospiral immunoglobulin-like protein A (Lig A) ซึ่งช่วยให้เชื้อสามารถเกาะติดที่ผนังเซลล์และผ่านเข้าไปในเซลล์ของอวัยวะต่าง ๆ ได้ การกระจายของเชื้อทำให้หลอดฝอยแตกและมีเลือดออกในอวัยวะต่างๆ ทำให้อวัยวะนั้นเกิดการอักเสบและเนื้อตาย โดยในระยะ 1-2 สัปดาห์ หลังป่วยร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มต้านทานโรคเพื่อกำจัดเชื้อโดยสร้าง lgM ที่จำเพราะต่อ lipopolysaccharide antigen ของเชื้อแต่ละสายพันธุ์ phagocyte จะจับกินเชื้อและถูกทำลายที่ reticuloendothelial organ หลายสัปดาห์หลังจากการติดโรคจนเข้าสู่ระยะฟื้นตัว เชื้อจะอยู่ได้นานเป็นเดือน ทำให้เกิดการอักเสบเรื้อรังได้
-