Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างชุดเครื่องมือวัดความหนืดของสารละลาย (เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อ…
การสร้างชุดเครื่องมือวัดความหนืดของสารละลาย
สมมติฐานการวิจัย
ผู้เรียนมีความเข้าใจสมบัติทางกายภาพของสารละลายที่ถูกต้องมากขึ้น
ผู้เรียนเห็นถึงความสัมพันธ์ของความหนืดกับสมบัติทางกายภาพอื่นๆของสารละลาย
ผู้เรียนสนใจในการเรียนเรื่องสารละลายมากขึ้น
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น
การทดลองโดยใช้เครื่องวัดค่าความหนืดแสดงผลผ่านแอปพลิเคชันร่วมด้วย
ตัวแปรตาม
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องสารละลาย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การเรียนวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันยังมีการถ่ายทอดที่เน้นทฤษฎีมากกว่าปฏิบัติทำให้นักเรียนได้สัมผัสและเข้าใจได้เพียงเนื้อหาบางส่วนจึงมีนักเรียนที่มีมโนมติที่คลาดเคลื่อนซึ่งวิธีการทดลองจะให้ความสัมฤทธิ์ผลของการเรียนรู้มากกว่าวิธีอื่นๆแต่ก็ยังมีข้อจำกัดที่สำคัญในการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการทดลองในบางครั้ง ต้องใช้ทรัพยากรมากในการลงทุนเพื่อให้ได้ชุดการทดลองที่ดีและมีความแม่นยำในการวัด ซึ่งในการทดลองเรื่องการหาความหนืดของของเหลวที่มีอยู่ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมฟิสิกส์ เล่ม5 พบความคลาดเคลื่อนของผลการทดลอง เนื่องจากสาเหตุความไม่แม่นยำในการวัดของผู้วัด ผู้จัดทำโครงการได้เห็นถึงปัญหาจึงได้จัดทำเครื่องมือวัดความหนืดที่สามารถเชื่อมโยงไปยังสมบัติทางกายภาพอื่นๆของสารละลาย เพื่อเสริมความเข้าใจและให้ผู้เรียนได้เห็นภาพความสัมพันธ์ของความหนืดกับสมบัติอื่นๆผ่านการทดลองและแสดงผลผ่านแอปพลิเคชันในสมาร์ตโฟนที่เป็นสิ่งที่ผู้เรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมากในปัจจุบัน
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจสมบัติทางกายภาพของสารละลายถูกต้องมากขึ้น
เพื่อให้ผู้เรียนเห็นถึงความสัมพันธ์ของความหนืดกับสมบัติทางกายภาพอื่นๆของสารละลาย
เพื่อสร้างความน่าสนใจในการเรียนเรื่องสารละลาย
ขอบเขตการศึกษา
ศึกษาและออกแบบเครื่องมืดวัดค่าความหนืดที่สามารถเชื่อมโยงกับสมบัติทางกายภาพของสารละลายโดยแสดงผลผ่านแอปพลิเคชัน
ศึกษาความสัมพันธ์ของสมบัติทางกายภาพของสารละลาย ซึ่งประกอบไปด้วย จุดเดือด ความเข้มข้น ความหนืด
นิยามศัพท์เฉพาะ
ความหนืด
สมบัติทางกายภาพ
เครื่องมือ
มโนมติ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้เรียนมีความสนใจและเข้าใจความสัมพันธ์ของสมบัติทางกายภาพของสารละลายมากขึ้น
ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องและสามารถนำไปเชื่อมโยงหรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
สามารถนำเครื่องมืดวัดค่าความหนืดที่สามารถเชื่อมโยงกับสมบัติทางกายภาพของสารละลายโดยแสดงผลผ่านแอปพลิเคชันไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จุดเดือด
ทฤษฎี ความหนืด
ความหนืด
Tracker
ความเข้มข้นของสารละลาย
วิจัยเรื่องชุดทดลองอย่างง่ายสำหรับหาความเข้มข้นของสารละลายน้ำตาลด้วยค่าดัชนีหักเหของแสง สายร้งุ ซาวสภา (2559)
สารละลาย (solution)
วิจัยเรื่องการเปรียบเทียบการหาความหนืดของของเหลวโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ภาพวิดีโอดิจิตัลและวิธีการจับเวลา รัชดา สุขพันธุ์ (2558)
งานวิจัยเทคนิคการวัดความหนืดโดยอาศัยการตกของวัตถุทรงกลมบทบาทของอิทธิพลของผนังหลอด หทัยชนก เพ็ชรมาตศรี (2555)