Respiratory Distress Syndrome : RDS
ทารก Term คลอด C/S น้ำในถุงลมไม่ถูกขับออกมาตามกลไกการคลอดธรรมชาติ
Hyperbilirubinemia
Large ASD with Small VSD with PDA
มีน้ำค้างอยู่ในถุงลมปอด
การแลกเปลี่ยนก๊าซ ลดลง
อาการ
• หายใจหอบหลังคลอด 1 hr
• อัตราการหายใจ 70 ครั้งต่อนาที
• O2 sat 90 %
• Mild Subcostal retraction
การรักษา
การรักษาเฉพาะ
การรักษาแบบประคับประคอง
On box 5 LPM
ประเมินการหายลำบาก
ประเมินสัญญาณชีพ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
จัดท่านอนทารก โดยใช้ผ้ารองที่ศีรษะและไหล่ เพื่อให้หลอดลมคอตรง
มีการสร้างบิลลิรูบินมากกว่าปกติ
การได้รับนมน้อย ดูดช้า
อาการ
ซึม ตัวอ่อน ดูดนมไม่ดี ตัวเหลืองหลังคลอด 1 วัน Hct 49 MBB 18.7 mg/dl
การรักษา
การรักษาเฉพาะ
On Phototherapy off 17/12/62
การรักษาแบบประคับประคอง
ให้นม BM / IF 25 ml x 8 feeds
การพยาบาล
- ถอดเสื้อผ้าทารกออกเหลือเพียงผ้าอ้อมอย่างเดียว และจัดให้ทารกนอนในภายใต้แสงไฟ ส่องตลอดเวลาที่ได้รับการรักษาโดยการส่องไฟ แต่สามารถนำทารกออกจากแสงไฟได้ช่วงที่ทารกดูดนม มารดา และขณะที่ทารกมีการขับถ่าย
- หากทารกมีการขับถ่ายควรเปลี่ยนผ้าอ้อมใหม่ทุกครั้ง
รวมทั้งสังเกตลักษณะ และจำนวนครั้ง ของการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
- ดูแลให้ทารกให้ดูดนมมารดาทุก 2-3 ชั่วโมง หรือตามความต้องการของทารก เพื่อป้องกันภาวะ ขาดน้ำ และเพิ่มประสิทธิภาพของการขจัดบิลิรูบินออกจากร่างกาย และอุ้มทารกเรอหลังให้นมเสร็จทุกครั้ง
- สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการรักษาโดยการส่องไฟ เช่น ผิวแห้ง ผื่นแดงตามผิวหนัง สีผิวคล้ำออกเขียวแกมน้ำตาล และถ่ายอุจจาระเหลวเป็นสีเขียว เป็นต้น
8.สังเกตอาการผิดปกติของทารก เช่น ดูดนมไม่ดี ซึมลงร้องเสียงแหลม เคลื่อนไหวร่างกายน้อย อาเจียนหลังดูดนม ตัวเขียว ชักเกร็ง
- ไม่ควรทาแป้ง น้ำมัน หรือโลชั่น เพราะอาจมีส่วนผสมของสารที่ทำให้เกิดการสะท้อนของแสง
- ปิดตาทารกด้วยผ้าปิดตาที่ทึบแสง ปิดตาให้สนิทเพื่อป้องกันการระคายเคืองและการเกิด เยื่อบุตาอักเสบ และควรหมั่นสังเกตผ้าปิดตา เนื่องจากอาจเกิดการเลื่อนหลุด
- จัดท่านอนให้กับทารกในท่านอนหงาย ตะแคง หรือคว่ำโดยเปลี่ยนท่านอนทุก 2-4 ชั่วโมง
เพื่อให้ผิวหนังทุกส่วนได้สัมผัสแสงไฟ และจัดให้นอนตรงกลางของแผงไฟในระยะห่างจากตัวทารกประมาณ 30 เซนติเมตร
- ติดตามผล Lab MBB
Atrial Septal Defect (ASD)
หัวใจมีรูรั่วที่ผนังกั้นห้องบนขวาและบนซ้าย RA และ LA
ทำให้เลือดไหลผ่านรูรั่วจาก LA ไป RA
แรกเกิดมีความยืดหยุุ่นน้อย
ทำให้เลือดไหลผ่านรูรั่ว LAไป RA น้อย
ทำให้หัวใจห้องบนขวา ห้องล่างซ้ายโต
Ventricular Septal Defect (VSD)
หัวใจมีรูรั่วผนังหัวใจห้องล่างขวา และล่างซ้าย RV LV
ทำให้เกิดเลือดแดงไหลลัด จาก LV ไป RV
ทำให้เลือดไปที่ปอดมากขึ้น
มีการไหลกลับมายัง RV เข้าสู่ LA มากขึ้น
ทำให้ PA PV LA และ LV โต
Patent Ductus Arterioles (PDA)
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว
การไหลเวียนของเลือด จาก Aorta ไป PA
ทำให้ PA PV LA LV และAortic Knob โต
อาการและอาการแสดง มีอาการหายใจหอบ ฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียง Murmur รับนมได้น้อย ดูดนมช้า น้ำหนักไม่ขึ้น
การวินิฉัยโรค
2D - Echocardiography ผล Large ASD with Small VSD with PDA
การรักษา
Digoxin 0.2 ml po PC
มีฤทธิ์เพิ่มการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ดันน้้นต้องเฝ้าระวัง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหัวใจหยุดเต้น เนื่องจากเกลือแร่ในร่างกายผิดปกติ
Lasix 3 mg po PC ยาที่ขับปัสสาวะ ดังนั้นจะต้องเฝ้าระวังภาวะขาดน้ำ มีปัญหาเรื่องความสมดุลของเกลือแร่ โดยเฉพาะเกลือแร่โปแทสเซี่ยมซึ่งมักจะต่ำ hypokalemia เกลือโซเดี่ยมต่ำ hyponatremia, ซึ่งมักจะมีอาการกระหายน้ำ ปากแห้ง อ่อนเพลีย ซึมลง ปัสสาวะออกน้ย ใจสั่น คลื่นไส้อาเจียน
ให้ O2 box 5 LPM
การพยาบาล
ประเมินอาการและ
อาการแสดงหายใจหอบ
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ทารกนอนหลับพักผ่อน
เพื่อลดการให้ออกซิเจน
ดูแลให้ทารกได้รับนมอย่างเพียงพอ เพื่อไม่ให้ทารกร้องไห้กวน เพราะทารกร้องจะใช้พลังจำนวนมาก
ประเมินลักษณะการเต้นของหัวใจ