Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GI Obstuction (พยาธิสภาพของโรค :explode: (หากเป็นเรื้อรังอาจเกิดภาวะทุพโภช…
GI Obstuction
-
สาเหตุ :warning:
-
-
การเกิดไส้เลื่อน ทำให้ไม่สามารถความคุมระบบลำไส้ให้อยู่ในช่องท้องได้ตามปกติ ถูกกดทับทำให้อาหารไม่สามารถลำเลียงอาหารไปยังระบบทางเดินอาหารส่วนปลาย
-
**ทำให้เกิดพังพืดในช่องท้อง ทำให้การลำเลียงอาหารผิดจนเกิดการสะสมของเสีย พังพืดที่ลำไส้เล็กจะทำให้อาหารติดกัน
การบิดตัวของลำไส้ ทำให้ระบบลำไส้อุดตัน ไม่มีเลือดไหลเวียน
ลำไส้เล็กทำงานผิดปรกติ ไม่สามารถผลักดันอาหารไปยังระบบทางเดินอาหารส่วนปลาย
การรักษา💊
-
-
หากผู้ป่วยมารับการตรวจในโรงพยาบาลแล้วสงสัยภาวะลำไส้อุดตัน แพทย์จะประคองอาการท้องอืดโดยใส่สายยางผ่านทางจมูกเพื่อดูดเอาอากาศและของเหลวออกจากกระเพาะอาหารทำให้อาการที่บริเวณช่องท้องลดลง และบรรเทาอาการปวดและอืดแน่นท้อง โดยส่วยใหญ่การรักษาลำไส้อุดตันมักต้องผ่าตัด เพื่อป้องกันการเกิดภาวะช็อก แพทย์จะให้น้ำเกลือผ่านทางเส้นเลือดที่บริเวณแขน เพื่อเพิ่มสมดุลระดับแร่ธาตุและอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย และใส่ท่อเพื่อระบายปัสสาวะและนำตัวอย่างปัสสาวะไปตรวจ จากนั้นแพทย์จะรักษาลำไส้อุดตันตามสาเหตุและอาการของผู้ป่วย
-
การพยาบาล💉
การพยาบาลหลังผ่าตัด
- การดูแลการระบายของเหลวของ N.G tube โดยต่อแบบ continuous gastric suction เพื่อระบายของเหลวออกจากช่องท้อง
- ดูแลการได้รับสารน้ำและอิเลคโตรไลท์ทางหลอดเลือดดำ เนื่องจากผู้ป่วยต้องงดอาหารและน้ำจนกว่าลำไส้จะมีการทำงาน ถ้าแพทย์อนุญาตให้รับประทานอาหารแนะนำอาหารที่มีคุณค่า เพิ่มวิตามิน B12 และวิตามิน K หลีกเลี่ยงอาหารที่ย่อยยากและมีไขมันสูง
- การสังเกตภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น เช่น short bowel syndrom เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
- ดูแลการได้รับสารน้ำและอิเลคโตรไลท์ ทางหลอดเลือดดำ เพื่อทดแทนการสูญเสียจากการอาเจียน และป้องกันภาวะขาดน้ำ
- ดูแลการใส่สาย N.G tube เพื่อระบายลมและน้ำในกระเพาะอาหารและสำไส้ และช่วยลดความดันภายในลำไส้
- ดูแลการได้รับยาบรรเทาอาการปวดท้อง และคลื่นไส้อาเจียน เพื่อลดอาการคลื่นไส้อาเจียน
- สังเกตลักษณะการอาเจียน การขับถ่ายอุจจาระ เพื่อประเมินความผิดปกติของร่างกาย
- บันทึกสารน้ำที่เข้า - ออกจากร่างกายและติดตามผลอิเลคโตรไลท์ เพื่อประเมินความสมดุลของสารน้ำในร่างกาย
- ตรวจวัดสัญญาณชีพและสังเกตระดับความรู้สึกตัว เพื่อป้องกันภาวะช็อคจากการขาดน้ำ และอาจมีการติดเชื้อจากการมีเยื่อบุช่องท้องอักเสบ
- เตรียมด้านร่างกายและจิตใจให้พร้อมก่อนได้รับการผ่าตัด เช่นเดียวกับผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทั่วไป
สมาชิก
นางสาว กวิสรา อนันตวงศ์ เลขที่ 3
นางสาว กานดา โห่งอ่อน 7
นางสาว เกษมณี พวงไธสง 8
นางสาว จุฑารัตน์ นาวิเศษ 16
นางสาว ชนิสรา กรณ์ชนาธิป 18
นางสาว ชลธิดา พันธ์หว้า 20
นางสาว ณิชากร บุญวรรณ 26
นางสาว นิรดา เก้ากัญญา เลขที่ 45
นางสาว พรปวีณ์ ศรีโชติ 57
นางสาว มนัญชยา ลี้สกุล 61
นางสาว รวีวรรณ จำนงค์ยุทธ เลขที่64
นางสาว ศิลาพรรณ ศรีชัย 78
นางสาว สุวนันท์ จารุวนาลี 87
นางสาว อนัญญา สุขสิน 89