Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลด้านจิตสังคมของผู้ป่วยเด็กและครอบครัว (กลุ่มที่ 8)…
การพยาบาลด้านจิตสังคมของผู้ป่วยเด็กและครอบครัว (กลุ่มที่ 8)
สาเหตุที่ทำให้เด็กเกิดความวิตกกังวลหรือเครียด
Environment of hospital
แสง เสียง สถานที่
อุปกรณ์การตรวจรักษา
เครื่องใช้ประจำวันที่แปลกไป
บุคคลแปลกหน้า
Separation
บิดา มารดา ผู้เลี้ยงดู
เพื่อน โรงเรียน คร ุ
ของใช้ส่วนตัว ของเล่น สัตว์เลี้ยง
Pain and Discomfort
จากการตรวจรักษา
ไข้ ไอ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดแผล
จากอาการของโรค
วัดปรอท ฉีดยา เจาะเลือด Suction ผ่าตัด
Loss of control
ผูก /ยึด /ตรึง (restrains)
ถูกจำกัดกิจกรรม
การใส่เผือก
จะถูกดมยาสลบ
การให้ IV.fluid
Loss of Body Image
ถูกผ่าตัด
ความพิการจากโรค
ศีรษะโล้น
ผมร่วง
Death Anxiety
อาการของโรค
การผ่าตัด
บทบาทพยาบาลในการดูแลเด็กป่วยและครอบครัว
การพยาบาลเพื่อลดความรู้สึกสูญเสียอวัยวะ/ภาพลักษณ์
ช่วยเหลือและแนะนำการปรับตัว
ไม่ละเลยสุขวิทยาส่วนบุคคล
บอกความเหมือน ความแตกต่างของร่างกายหลังจากการผ่าตัดหรือเจ็บป่วย
การพยาบาลลดความวิตกกังวล/กลัวตาย
บรรเทาความไม่สุขสบายต่างๆ
สังเกตปฎิกิริยาที่แสดงถึงความวิตกกังวล
อยู่เป็นเพื่อนไม่ทอดทิ้ง
แนะนำให้ญาติดูแลอย่างใกล้ชิด
อธิบายแนวทางการรักษาให้ชัดเจน
การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวลจากการแยกจาก
อนุญาตให้อยู่กับบุตรได้เมื่อทำหัตถการหากต้องการ
อนุญาตให้บิดามารดาเฝ้าบุตรได้
อธิบายปฏิกิริยาแยกจากของเด็กให้บิดามารดาเข้าใจ
แนะนำบิดามารดาให้สัญญาและบอกเด็กว่าจะไม่ทอดทิ้ง
แนะนำให้บิดามารดาเล่าถึงบุคคลในครอบครัว
ส่งเสริมให้เพื่อนๆและคุณครูมาเยี่ยม
บทบาทพยาบาลเพื่อลดความกลัวและความเจ็บปวดจากอาการของโรคและการทำหัตถการ
อธิบายการรักษาอย่างเป็นรูปธรรม
ใช้ภาษาเข้าใจง่าย/ไม่น่ากลัว/ไม่หวาดเสียว
เลือกวิธีการเตรียมผู้ป่วยก่อนทำหัตถการให้เหมาะสมกับวัย
ให้ทดลอง/ฝีกปฏิบัติ
ศึกษาวิธีการรักษาความเจ็บปวด
ให้แสดงความคิดเห็นและระบายความรู้สึก
ประเมินระดับความเจ็บปวด
colour scale
ภาพการ์ตูน
มาตราส่วนประมาณค่า 6 ระดับ / 11 ระดับ
Pain termometer
ส่งเสริมการนอนหลับพักผ่อน
การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับสถานที่/บุคลากร
สัมผัสแตะต้อง
แนะนำกฏระเบียบ
สร้างสัมพันธภาพ
พาดูสถานที่อุปกรณ์/เครื่องใช้ต่างๆ
แนะนำอุปกรณ์ส่วนตัวและที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษา
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับพัฒนาการ
ปฏิกิริยาตอบสนองความเจ็บป่วยของเด็ก
ด้านร่างกาย
หัวใจเต้นเร็ว
เบื่ออาหาร ท้องอืด อาเจียน
อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ
เหงื่อออก ผิวหนังซีดเย็น
ด้านอารมณ์และสติปัญญา
ซึมเศร้า
ถดถอย
ก้าวร้าว
กังวล
วิตกกังวลต่อการพลัดพราก (separation anxiety) ระยะประท้วง (protest) ระยะหมดหวัง (despair) ระยะปฏิเสธ (denial)
กลัว
ปฏิกิริยาตอบสนองความเจ็บป่วยของครอบครัว
ปฏิกิริยาของบิดา มารดาเด็กป่วย
ปฏิเสธ (denial) โกรธ (anger) ต่อรอง (bagaining) ซึมเศร้า (depression) ยอมรับ (accept) กลัว (fear) หงุดหงิดคับข้องใจ (frustration)
ปฏิกิริยาของพี่ น้องเด็กป่วย (Sibling)
ว้าเหว่ / กลุ้มใจ / กลัว /
อิจฉา
ฉันเป็นสาเหตุของความเจ็บป่วยหรือไม่
เป็นความจริงหรือจินตนาการ
พ่อ-แม่จะทอดทิ้งฉันหรือไม่
ฉันจะป่วยและต้องอยู่โรงพยาบาลหรือไม่
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปฏิกิริยาและการปรับตัว
ปัจจัยด้านตัวเด็กเอง
วัยทารก ยังไม่เข้าใจความหมายของการเจ็บป่วย รับรู้ความเจ็บปวด/การแยกจากผู้เลี้ยงดูได้ รับรู้/รู้สึก ถึงการเลี้ยงดูที่ผิดไปจากเดิม
วัยเตาะแตะ/วัยก่อนเรียน มักเข้าใจความหมายของการเจ็บป่วยผิดไป โดยเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ที่เคยพบ + จิตนาการสามารถรับรู้ความเจ็บปวด/การแยกจากผู้เลี้ยงดูได้
วัยรุ่น เข้าใจความเจ็บป่วยถูกต้อง บอกสาเหตุ และกระบวนการของการเจ็บป่วยได้
วัยเรียน เข้าใจความเจ็บป่วยถูกต้อง บอกสาเหตุของความเจ็บป่วยที่ง่ายๆ ได้
ปัจจัยด้านโรคและความเจ็บป่วยของเด็ก
ลักษณะและประเภทของโรค
โรคเฉียบพลัน (acute illness)
โรคคุกคามชีวิต (life treatening illness)
โรคเรื้อรัง (chronic illness)
ระดับความรุนแรงของโรค
ระยะเวลาของการเจ็บป่วยและการอยู่ รพ.
Long term hospital
Life treatening illness
Short term hospital
ปัจจัยด้านครอบครัวของเด็ก
ความสัมพันธ์ของครอบครัว
การสนับสนุนของญาติ /เพื่อน
ความเชื่อของครอบครัว
สมาชิกในกลุ่ม
นพร.ปวิตรา พุทธกุล เลขที่ 43
นพร.สุภาวดี บุญคง เลขที่ 74
นพร.ศศิธร กาฬภักดี เลขที่ 67
นพร.กชพร เวียงอินทร์ เลขที่ 1
นพร.ณัฐิยา สุขแยง เลขที่ 27
นพร.นนระญา แพงมาก เลขที่ 34
นพร.ศุภรพิชญ์ ชุบขุนทด เลขที่ 69
นพร.จิตติมา นามผา เลขที่ 11