Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility) (การวินิจฉัย image (• Hysteroscopy …
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
ภาวะมีบุตรยากแบบปฐมภูมิ(Primary infertility)หญิงไม่เคยตั้งครรภ์หลังพยายามแล้วนานกว่า 12 เดือน
ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ(Secondary infertility) หญิงที่เคยตั้งครรภ์มาก่อนอาจจะสิ้นสุดลงด้วยการแท้งหรือการคลอด หลังจากนั้นไม่มีการตั้งครรภ์อีกเลยนานกว่า 12 เดือน
หญิงที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป
หญิงที่ไม่ได้คุมกำเนิดระยะเวลา หรือ 6 เดือน 1 ปี
หญิงที่ไม่สามารถการตั้งครรภ์ได้ โดยที่มีความสัมพันธ์ทางเพศสม่ำเสมอ
ความสามารถในการมีบตุร
อายุฝ่ายชายอายุ ˃ 55 ปี ขึ้นไปจะมีความผิดปกติ ของอสุจิมากขึ้น
• ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์อสุจิที่สร้างขึ้นมาใหม่มีคุณภาพดีและแข็งแรงกว่าอสุจิที่สร้างมานาน ความถี่ของการมีเพศสมัพนัธ์ที่ เหมาะสมคือ2-3 ครั้งต่อสัปดาห์
• อายุฝ่ายหญิง 21-25 ปี ความสามารถมีบตุรได้สูง
สาเหตุ
สาเหตุจากฝ่ายหญิง
• ท่อนำไข่
• Endometriosis
• การทำงานของรังไข่ผิดปกติ
• Immunological
• Other
สาเหตุจากฝ่ายชาย
Other
ภาวะทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียดความ วิตกกังวล
Sexual factors เช่น Electile dysfunction, Premature dysfunction
Sperm dysfunction เช่น เชื้ออสุจิน้อย รูปร่าง ผิดปกติ มีการเคลื่อนไหวน้อย
การวินิจฉัย
• Hysteroscopy ตรวจโพรงมดลูก
• รังไข่ ได้แก่ BBT, Cx mucous, Endometrium biopsy, Serum progesterone
• Endoscopy การส่องกล้อง = Laparoscopy ตรวจในอุ้งเชิงกราน
• เยื่อพังผืดในช่องเชิงกราน ได้แก่ Laparoscope
• Hysterosalpingogram(HSG) การฉีดสารทึบรังสีและเอ็กซเรย์
• ภูมิต้านทานตัวอสจุิ ได้แก่ PCT (postcoital test)
• เต้านมเชิงกรานจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไส้ติ่งอักเสบ การทำแท้งภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยาก
ฝ่ายหญิง
การตรวจร่างกาย
การตรวจเฉพาะระบบสืบพันธุ์สตรี เยื่อพรหมจารีและช่องคลอด PV, Wet smear, Culture
คอมดลูก ได้แก่ PV ดูลักษณะทางกายวิภาค ตรวจมูกคอมดลูก
การตรวจร่างกายทั่วไป เช่น Secondary sex โรคทางอายรุกรรมที่เป็นสาเหตุให้มีบุตรยาก
ตัวมดลูก ได้แก่ PV, Hysterosalpingogram, Endometrium biopsy, Hysteroscopy, U/S
การตรวจต่อมไร้ท่อ (Hypothalamus, Pituitary, Thyroid )
การตรวจร่างกายทั่วไป เช่น Secondary sex โรคทางอายรุกรรมที่เป็นสาเหตุให้มีบุตรยาก
ท่อนำไข่ ได้แก่ CO2 insufflation หรือ Rubin test , Hysterosalpingogram, Laparoscope
ประวัติ ประจำเดือน การแต่งงานและการมีบุตร การมีเพศสัมพันธ์ การคุมกำเนิด การได้รับยารังสี สารเคมี การได้รับอุบัติเหตุและการผ่าตัด
ฝ่ายชาย
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต เช่น โรคคางทูม โรคติดเชื้อทาง เพศสัมพันธ์ โรคเบาหวาน โรคของต่อมไร้ท่อ
การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์
การได้รับยา รังสี สารเคมี
การมีเพศสัมพันธ์ และความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์
การตรวจร่างกาย ตรวจระบบสืบพันธ์ เช่น หนังหุ้มปลายองคชาต ลักษณะและรูเปิดของท่อปัสสาวะ ลักษณะรปูร่างอณัฑะ หลอดเลือดขอดในถุงอัณฑะ (Varicocele) Hydrocele
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจอสุจิ
• นำน้ำอสุจิส่งตรวจภายใน 1ชั่วโมงภายหลังที่เก็บได้
• ใส่ภาชนะที่เตรียมให้เท่านั้น
• งดการมีเพศสัมพนัธ์ก่อนวนัตรวจ2-7วัน
• ไม่แนะนำให้มีการมีเพศสัมพนัธ์ก่อนแล้วหลั่งข้างนอก หรือใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากอาจมีสารที่ทำลายอสุจิได้
การตรวจเลือด การตรวจฮอร์โมน การตรวจน้ำอสุจิ
ภาวะมีบุตรยากที่ไม่ทราบสาเหตุ (Unexplained infertility)
คู่สมรสที่ตรวจหาสาเหตขุองการมีบตุรยากครบตามมาตรฐานแล้ว เช่นการประเมินการตกไข่ การตรวจวิเคราะห์น้ำอสุจิ การประเมินการอุดตันของท่อนำไข่แต่ไม่พบความผิดปกติ
การรักษาการมีบตุรยาก
การฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง Intra-uterine insemination (IUI) Artificial insemination นำน้ำอสุจิที่คัดแยกมาแล้วฉีดเข้าในโพรงมดลูกขณะที่มีการตกไข่ ตัวอสุจิว่ายจากโพรงมดลูกไปทางท่อนำไข่และผสมกับไข่ด้วยตัวเอง แพทย์ใช้ยากระตุ้นให้มีไข่ตกมากกว่าหนึ่งใบเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์มากขึ้น
การรักษาแบบขั้นต้น (Conventional)
การกระตุ้นไข่ (Ovulation induction)
การผสมเทียม คือ การใช้เครื่องมือฉีดเชื้ออสุจิเข้าไปภายใน อวัยวะสืบพันธุ์ของสตรี ในช่วงที่ไข่ตก เชื้ออสุจิอาจเป็นของสามีหรือผู้บริจาค เหมาะกับผู้ชายที่เชื้ออ่อนแอ
การกำหนดระยะเวลาในการมีเพศสัมพันธ์ (Timing intercourse)
3D animation of how IUI works วิธีการนี้ไม่เหมาะกับผู้หญิงที่มีปัญหาท่อนำไข่ตีบตันหรือพังผืดขวางทางระหว่างไข่กับทางเข้าท่อนำไข่ ท่อนำไข่เสียหายเยื่อบุมดลุกเจริญผิดที่ หรือปัญหาที่ทำให้ไข่ไม่สามารถตกเข้าท่อนำไข่ได้
การทำ post coital test
ตรวจโดยใช้ syringe เล็กๆดูดเอามูกบริเวณ posterior fornix ป้ายบนแผ่นสไลด์ ดูว่ามีตัวอสุจิหรือไม่ และดูดจากช่องคอมดลูกจากนั้นนำไปส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์เพื่อดูว่ามีตัวอสุจิที่มีการเคลื่อนไหวหรือไม่
อสุจิที่เคลื่อนไหวไปข้างหน้าเกิน 5 ตัว/HPF แสดงว่าอสุจิว่ายผ่านมูกขึ้นไปได้และมูกที่ปากมดลูกเป็นแหล่งกักเก็บอสุจิและคอยส่งขึ้นไปในโพรงมดลูก
ตัวอสุจิไม่มีการเคลื่อนไหวเลยแสดงถึงการอักเสบของปากมดลูกมีการอักเสบโดยเฉพาะ หากตรวจพบว่ามีเม็ดเลือดขาวร่วมด้วยหรือ ภาวะที่มูกปากมดลูกมีภูมิต้านทานต่อตัวอสุจิ
งดการมีเพศสัมมพันธ์มา 2-3 วัน ตรวจประมาณ9-24 ชั่วโมง
เพื่อดูมูกที่ปากมดลูกและความสามารถของอสุจิที่ว่ายผ่านขึ้นไปสู่โพรงมดลูก ระยะเวลาที่เหมาะสมในการตรวจ 1-2 วันก่อนการตกไข่
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility)
การตรวจความผิดปกติของการตกไข่
ตรวจวัด basal body temperature หรือ BBT chart
ตรวจการทำงานของอสุจิหรือ sperm function tests ปัจจุบันไม่นิยม
ตรวจวัดระดับฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนในในกระแสเลือดที่กึ่งกลางของระยะลูเทียล(midluteal serum progesterone level)เจาะเลือดเพื่อตรวจในช่วงประมาณ 1 สัปดาห์ก่อนที่ประจำเดือนมา
˃5 μ/dl = มีการตกไข่
˃10 μ/dl = มีการตกไข่คอร์ปัสลูเตียมทำงานปกติด้วย
ตรวจปัจจัยด้านปากมดลูกหรือการทำ postcoital test
การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (Assisted Reproductive Technology หรือ ART)
ZIFT (Zygote Intrafallopian Transfer) คล้ายกับการทำเด็กหลอดแก้วแต่ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วจะถูกนำมาผสมกันและเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 1 วันถ้าเห็นว่าเกิดการปฏิสนธิแล้วจะใส่ตัวอ่อนกลับเข้าสู่ฝ่ายหญิงผ่านทางหน้าท้องใส่ไปในท่อนำไข่
IVF( In Vitro Fertilization) การปฏิสนธินอกร่างกายและการย้ายตัวอ่อน หรือเรียกกันว่า เด็กหลอดแก้ว ทำคล้ายกับ GIFTแต่ไข่และเชื้ออสุจิที่ผ่านการเตรียมแล้วถูกนำมาผสมกันเพื่อให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกาย โดยเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการให้มีการแบ่งตัวเป็นตัวอ่อนในระยะ 4-8 เซลล์ ใช้เวลาเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ 2-5 วันจากนั้นนำตัวอ่อนที่ได้ใส่เข้าไปในโพรงมดลูกเพื่อให้มีการเจริญเติบโต
GIFT ( Gamete Intrafallopian Transfer) นำไข่และเชื้ออสุจิไปใส่ในท่อนำไข่ หลังจากกระตุ้นไข่เพื่อชักนำให้ไข่สุกหลายใบ และเจาะดูดไข่ออกมาแล้วนำไข่ที่ ได้ 3-4 ใบมารวมกับตัวอสุจิที่ผ่านการคัดแยกแล้วจากนั้นนำฉีดผ่านเข้าไปในท่อนำไข่ทันที เป็นการเลียนแบบธรรมชาติ ฝ่ายหญิงจะต้องมีท่อรังไข่ที่ปกติ อย่างน้อย 1 ข้าง
Micromanipulation คือ วิธีการรักษาคู่สมรสที่มีบุตรยาก มีปัญหาด้านเชื้ออสุจิจำนวนน้อยมาก ไม่เคลื่อนไหว โดยการใช้เข็มเล็กๆเจาะเปลือกไข่ ให้เชื้ออสุจิวิ่งผ่านรูที่เจาะ หรือการฉีดเชื้ออสุจิเข้าใต้เปลือกไข่ หรือการฉีดเชื้ออสุจิเข้า Ooplasm โดยตรง ต้องอาศัยเครื่องมือพิเศษและประสบการณ์ความชำนาญของผู้ทำ
ICSI (Intracytoplasmic SpermInjection) เป็นการนำเชื้ออสุจิเพียงหนึ่งตัวเจาะใส่เข้า Ooplasm โดยตรงภายใต้กล้องขยายกำลังสูงหลังเซลล์ไข่ถูกฉีดอสุจิเข้าไปจะเกิดการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อน อสุจิไม่ต้องว่ายไปหาไข่ไม่ต้องเจาะผนังเซลล์ไข่เอง ทำให้อสุจิที่ไม่แข็งแรงปฏิสนธิกับไข่ได้เหมาะสำหรับผู้ที่มีสเปิร์มน้อย และการเคลื่อนไหวไม่ดี
นางสาวนารีรัตน์ ตั้งใจธรรม 2A เลขที่43 รหัส613601044