Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ(2) (ไทยเปิดเขตการค้าเสรี (FTA) (สินค้านำเข้า…
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ(2)
องค์กรความร่วมมือ
รูปแบบ
สหภาพเศรษฐกิจ
ยกเลิกภาษี (ตั้งกำแพงภาษีนอกกลุ่ม)
ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป : EEC
สหภาพศุลกากร
รวมตลาดและประสานนโยบาย
สหภาพยุโรป : EU
เขตการค้าเสรี
Free Trade Agreement (FTA) (ยกเลิกภาษี)
NAFTA (อเมริกาเหนือ)
AFTA (อาเซียน)
EFTA (ยุโรป)
องค์กรจาก UN
IMF
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
รักษาเสถียรภาพการแลกเปลี่ยน
ธนาคารโลก (World Bank)
ระดมทุนจากสมาชิก
ปล่อยกู้ให้แก่สมาชิก
ส่งเสริมการลงทุนของเอกชนในและต่างประเทศ
WTO
องค์กรการค้าโลก
บริหาร การตกลงและบันทึกความเข้าใจ
ลดความขัดแย้งและอุปสรรคทางการค้า
องค์กรระดับภูมิภาค
ASEAN
สำนักงานใหญ่ จากการ์ตา อินโดนีเซีย
ร่วมมือทางเศรษฐกิจ ความมั่นคง สันติภาพ
AEC
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ลดภาษี < 5%
ยกเว้น
Sensitive List
Highly Sensitive List
APEC : ASEAN Pacific
OPEC : ผู้ส่งออกน้ำมัน
ADB : ธนาคารพัฒนาเอเชีย
ASEM : Asia-Europe
ไทยเปิดเขตการค้าเสรี (FTA)
เริ่ม
หลังสนธิสัญญาเบาว์ริงกับอังกฤษ
ปัจจุบัน
ผลักดันเขตการค้าเสรีกับกลุ่มอาเซียน (AFTA)
ข้อดี
ตื่นตัวพัฒนาเพื่อความอยู่รอด
ขยายโอกาสพัฒนาประเทศ
ข้อเสีย
พึ่งพาต่างประเทศมากขึ้น
สินค้าบางชนิดไม่สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้
สินค้าส่งออก
คอมพิวเตอร์และชิ้นส่วน
แผงวงจรไฟฟ้า
ข้าว,ยางพารา,อัญมณี
สินค้านำเข้า
น้ำมันดิบ
เครื่องจักร
เคมีภัณฑ์
เหล็กกล้า
ข้อตกลงการค้า
ทวิภาคี (2ประเทศ)
ไทย-จีน
ไทย-รัสเซีย
พหุภาคี (หลายประเทศ)
ASEAN-จีน
ASEAN-ญี่ปุ่น
ASEAN-เกาหลีใต้
อุปสรรค
การกีดกันนอกเหนือภาษี
ขาดเครื่องมือกระจายผลประโยชน์
ปัญหาแหล่งกำเนิดสินค้า
ผลกระทบ
การลดภาษีกระทบต่อสินค้าบางชนิด
สินค้านำเข้าสูง ทำให้ขาดดุลการค้า
สินค้าบางชนิดแข่งขันไม่ได้