Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นักแก้ไขการพูด (ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร (จบปริญญามหาบัณฑิต หรือ ดุษฎีบัณฑิต…
นักแก้ไขการพูด
ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
จบปริญญามหาบัณฑิต หรือ ดุษฎีบัณฑิต ด้านศิลปศาสตร์หรือ วิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาความผิดปกติทางการสื่อความหมาย วิชาเอกความผิดปกติทางภาษาและการพูด (Speech and Language Pathology)
-
-
เส้นทางสู่อาชีพนั้น
-
ของมหาวิทยาลัยมหิดล จะรับรอบที่3 รับเพียง20คน ใช้คะแนน 9 วิชาสามัญ GPAX3.00และรอบที่4รับเพียง10คน(ในกรณีรับรอบที่3ได้ไม่ครบจะมีการรับเพิ่มในรอบที่4) ใช้ GAT 20% PAT2 30%
-
-
อาชีพนี้ทำอะไรบ้าง
วินิจฉัยความผิดปกติของการสื่อความหมายทางภาษาและการพูด ตรวจคัดกรองหาข้อบ่งชี้ ประเมินสภาพความผิดปกติ ทดสอบความสามารถทางด้านภาษาและการพูดรวมถึงการกลืน แยกประเภทความผิดปกติต่างๆ บำบัดรักษา แก้ไขและฟื้นฟูสมรรถภาพได้ครอบคลุมทุกประเภทของความผิดปกติ
-
อาชีพนี้สำคัญอย่างไร
แก้ไขความบกพร่องที่เกิดขึ้นกับกระบวนการพูด ระบบภาษา การทำงานของอวัยวะในช่องปาก คอ หลอดอาหารช่วงต้น การปรับพฤติกรรม การเรียนรู้ อารมณ์ และการอยู่ร่วมกันในสังคมแนะนำแก่ผู้ปกครอง ญาติ ผู้ดูแล หรือผู้เกี่ยวข้องให้มีความเข้าใจ เกี่ยวกับความผิดปกติของผู้ป่วยและเรียนรู้วิธีการรักษาที่ถูกต้อง
ค้นพบอาชีพนี้ได้อย่างไร
จากการที่ได้ไปงานOpen house มหิดล ที่คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เลยได้รู้ว่าอาชีพนี้ยังมีความต้องการในวงการแพทย์อีกเยอะ เพราะไม่ค่อยจะมีนักแก้ไขการพูดเยออะเท่าที่ควร