Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Study Dx : Preterm with Low birth weight with Apnea of prematurity …
Case Study Dx : Preterm with Low birth weight with Apnea of prematurity with Neonatal Jaundice with Respiratory Distress Syndrome
ข้อมูลทั่วไป
-
PI : แรกรับ HR > 100 ครั้ง/นาที หายใจเอง ร้องดั่ง ต่อมาหายใจมี Retraction early CPAP admit NICU Case refer มารดามาจากโรงพยาบาลหนองคาย เนื่องจาก NICU เต็ม ทารกมี Respiratory Distress ทารกหายใจเหนื่อย หอบ จึง on ETT ให้ Survanta จากนั้น off ETT on NCPAP ตอนเช้า on O2 HF 4 LPM. Sepsis ได้ ATB Ampicillin + Gentamycin เคยมีภาวะ Apnea ทารกมีภาวะ Jaundice เมื่ออายุ 8 hr. MB=4.2 on photo single Reticulocyte=7.17 Total Bilirubin=4.3 Direct Bilirubin=0.4 step feed BM/PF 28 ml x 8 feed gavage (ฺฺBM ผสมเป็น 24 kcal)
ประวัติการตั้งครรภ์ G1P0A0L0 GA 32+2 weeks มารดามีอาการปวดท้อง ไม่มีอาการน้ำเดิน แม่มีภาวะ Teenage Pregnancy with Preterm labor คลอด Normal Labor Apgar score 8-9-9 คลอดที่ รพ.ศูนย์อุดรธานี คลอดเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2562 น้ำหนักแรกคลอด 1355 g. เวลา 22.39 น. ได้ส่งตัวมา Nursery เนื่องจากมีปัญหาน้ำหนักตัวน้อย หายใจเหนื่อย หอบทารกเพศชาย เกิดเมื่อวันที่ 27/11/62 น้ำหนักแรกเกิด 1355 กรัม อายุ 18 วัน
-
Jaundice ภาวะตัวเหลือง
- Physiologic พบในทารกปกติตัวจะเหลืองภายใน 2-3 วัน อาจเกิดจากการแตกของเม็ดเลือดแดงที่สั้น ตับทำงานสร้าง glucuronyl transferase จึงทำให้กำจัดบิริรูบินได้ไม่ดี
- Pathologic เป็นภาวะตัวเหลืองที่ผิดปกติ ภายหลัง 24 ชั่วโมงหลังคลอด ค่าMB จะเพิ่มมากขนึ้ 0.5 มก/ดล/ชม สาเหตุ G6PD Cephahematoma ท่อน้ำดีอุดตัน เม็ดเลือดแดงผิดปกติ ธารัสซีเมีย Blood group incompatibility ภาวะที่กลัว คือ Kernicterus มีผลต่อเซลล์สมอง การรักษา ส่องไฟ การเปลี่ยนถ่ายเลือด
-
case 27/12/62 ทารกมีภาวะตัวเหลืองเมื่ออายุ 8 ชั่วโมง ค่า MB 4.2 จึงได้รับการรักษา on Photo Single ปัจจุบัน off ไปแล้ว
-
Preterm คลอดก่อนกำหนด
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดที่เกิดในช่วงอายุครรภ์ก่อน 37 สัปดาห์ โดยมีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมอ 4 ครั้งใน 20 นาที หรือ 8 ครั้ง ใน 1 ชั่วโมง ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก โดยมีการเพิ่มขยายของปากมดลูกมากกว่า 1 เซนติเมตร หรือปากมดลูกมีความบางตัวตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ทารกเกิดก่อนกำหนดเป็นทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยกลุ่มหนึ่ง ซึ่งหมายถึง ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
-