Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Severe Aortic Stenosis,Mitral Stenosis With Atial Fibrillation…
Severe Aortic Stenosis,Mitral Stenosis With Atial Fibrillation
ไข้รูมาติก(Acute rheumatic fever)
)
เกิดจากการติดเชื้อ Beta-hemolytic steptococcus group A ในลำคอ
ส่งผลทำให้มีการอักเสบของระบบอวัยวะต่างๆหลายแห่ง โดยเฉพาะ(หัวใจ)
เกิดความพิการของหัวใจ ที่เรียกว่า
โรคหัวใจรูมาติก(Rheumatic heart disease)
เป็นสาเหตุของการเกิดโรค
Mitral Stenosis
(MS)
inflamatory process เกิดเป็น pancarditis มีการอักเสบที่ชั้นendocardium
เกิด fibrosis ที่ลิ้นหัวใจ
มีการยึดติดของ valve และ subvalvular apparatus ร่วมกับมี calcification
อาการ
อาการของผู้ป่วยจะแสดงหลังจากที่มี Rheumatic infection มานานกว่า 10-20 ปี mitral valve orifice area ปกติจะมีขนาด 4-6 cm2 จะค่อยๆตีบลง
ในCase นี้ ผู้ป่วยมี mitral areaอยู่ในระดับ Severe Stenosis คือ mitral valve area น้อยกว่า 0.8-1 cm2
ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย นอนราบไม่ได้ แน่นหน้าอก เท้าบวม และ EKG พบAtial Fibrillation
การรักษา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด Double Valve Replacement with Pacing wire
เป็นสาเหตุของการเกิดโรค
Aortic Stenosis(AS)
อยู่ในระดับ Severe Aortic Stenosis พื้นที่หน้าตัดของ ฟนพะรแ อฟสอำ ลดลงเหลือ น้อยกว่า 1 cm2
มีผลต่อการไหลเวียนเลือด
Pressure loadต่อleft ventricle มีการเปลี่ยนแปลงเป็นแบบ hypertrophy
1 more item...
อาการ
ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย นอนราบไม่ได้ แน่นหน้าอก เท้าบวม และ EKG พบAtial Fibrillation
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดที่พบ
ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว (atrial fibrillation)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โอกาสของการเกิดภาวะนี้เพิ่มขึ้นตามอายุ นอกจากนี้ยังสัมพันธ์กับโรคหัวใจโดยผู้ป่วยที่เป็นโรคลิ้นหัวใจตีบ จะพบภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้วได้สูง
คือภาวะที่มีการกระตุ้นของหัวใจห้องบนแบบกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ ทำให้การบีบตัวของหัวใจห้องบนเสียไป ส่งผลให้หัวใจเต้นเร็วและไม่สม่ำเสมอ โดยผลแทรกซ้อนของภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว คือ ทำให้หัวใจสูบฉีดเลือดออกไปได้ลดลง ซึ่งหากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสมจะนำไปสู่ภาวะหัวใจวายในที่สุด และการทำให้เลือดหมุนวนตกค้างในหัวใจห้องบนสามารถก่อให้เกิดลิ่มเลือดหลุดไปอุดตันหลอดเลือดสมอง
สาเหตุ
การตีบแคบของลิ้นหัวใจ
อาการ
ใจสั่น หัวใจเต้นเร็วไม่สม่ำเสมอ
เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
เหนื่อยขณะออกกำลังกาย
ความสามารถในการออกกำลังกายลดลง
เจ็บหรือแน่นหน้าอก
เวียนศีรษะ
หายใจลำบาก
เป็นลมหมดสติ
การรักษา
การใช้ยา
การใช้ไฟฟ้ากระตุกเพื่อปรับการเต้นของหัวใจ (cardioversion) ให้กลับเต้นปกติ
การใช้สายสวนหัวใจ
ชนิด
First diagnosed atrial fibrillation
คือภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้วที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นครั้งแรก
Paroxysmal atrial fibrillation
คือภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้วที่เกิดขึ้นและกลับมาเต้นเป็นจังหวะปกติได้เอง ส่วนใหญ่ภายใน 24 ชั่วโมง แต่อาจเป็นนานได้ถึง 7 วัน
Persistent atrial fibrillation
คือภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้วที่เกิดขึ้นต่อเนื่องนานเกิน 7 วัน หรือไม่สามารถกลับมาเต้นเป็นปกติได้เอง ต้องได้รับการรักษา
Long standing persistent atrial fibrillation
คือภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้วที่เป็นต่อเนื่องมานานกว่า 1 ปี โดยแพทย์และผู้ป่วยตัดสินใจรักษาให้กลับมาเต้นเป็นปกติ
Permanent atrial fibrillation
คือภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้วที่เป็นต่อเนื่องมานานกว่า 1 ปี โดยแพทย์และผู้ป่วยตัดสินใจว่าจะไม่พยายามรักษาให้กลับมาเต้นเป็นปกติ