Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Idiopathic intracranial hypertension (การวินิจฉัย (ตรวจ CFS…
Idiopathic intracranial hypertension
CC:เห็นภาพซ้อน 18 ก่อนมาโรงพยาบาล
PI:13 พฤศจิกายน 2562เริ่มมีอาการอาเจียนวินเวียน ปวดศีรษะ ไปหาหมอที่โรงพยาบาลน้ำโสม วันที่ 15 พฤศจิกายน 2562 เจาะเลือดตรวจเพาะเชื้อไวรัสลงกระเพาะเเต่ไม่พบ เเพทย์ให้ยามาทาน เเก้ปวด เเก้คลื่นไส้อาเจียน อาการไม่ดีขึ้น จนวันที่17 พฤศจิกายน 2562 ไปหาหมอที่บ้านผือ เเพทย์จึงสันนิษฐานว่้าเป็นโรคเครียด วิตกวังกล เเพทย์จึงให้ยานอนหลับ เเก้ปวดคลายกล้ามเนื้อ อาการก็ไม่ดีขึ้น วันที่20 พฤศจิกายน 2562 ไปหาหมอพรนิภา ฉีดยาให้หายจากอาการปวดหัว ก็เป็นมาตลอดจนกระทั่ง วันที่ 27 พฤศจิกายน 2562 พาไปหาหมออีกครั้งที่โรงพยาบาลน้ำโสมเรื่องตาไม่ปกติ หมอจึงส่งตัวไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานีแผนกตา หมอตรวจดูขั้วประสาทตา มีตาบวมด้านขวา หมอจึงนัดMRI CT brain วันที่ 3 ธันวาคม 2562 วันที่ 9 ธันวาคม 2562 นัดมาฟังผลสมอง ผลปกติ จึงต้องหาสาเหตุต่อไป หมอคาดว่าเป็นความดันสูงในโพรงสมองผิดปกติ จึงให้ Amit ที่โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี วันที่ 10 ธันวาคม 2562 หมอทำหัตถการเจาะน้ำไขสันหลังวัดความดันนำ้เเละได้นำ้ไขสันหลังออกไปตรวจเบื้องต้นพบว่า ว่ามีเม็ดสีขาวในน้ำไขสันหลังจึงนำไปเพาะเชื้อต่อไปและได้นอนเข้ารัยยาฆ่าเชื้อเป็นเวลา 7 วัน
อาการ
มองเห็นภาพซ้อน
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้ อาเจียน
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ตรวจMRI
ตรวจ CFS
ผลมีเม็ดเลือดขวาในนำ้ไขสันหลัง
ตรวจรังสี LP
ตรวจระดับสายตา
สายตาปกติ
สาเหตุ
ขั้วประสาทตาขวาบวม
การรักษา
รับประทานยา acetazolamide syrup 3.5 ml pc tid
เป็นยาลดระดับความดันในตา
ได้รับยาฆ่าเชื้อ Cefazolin เป็นเวลา7วัน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะติดเชื้อในระบบประสาทเเละสมอง
1.สังเกตอาการเเละประเมินอาการเเสดงของการติดเชื้อในระบบประสาทเเละสองได้เเก่ ไข้สูง ซึมลง กระสับกระส่าย ชัก เห็นภาพซ้อน ปวดศีรษะ
2.วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงและประเมินneuro sign
3.ดูเเลสิ่งเเวดล้อมรอบเตียงให้เป็นระเบียบเเละสะอาด
4.ดูเเลสุขวิทยาส่วนบุคคล เรื่องการล้างมือ การทำความสะอาดร่างกาย รับประทานอาหารที่ปรุงสุกถูกสุขลักษณะ
เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเนื่องจากติดเชื้อในระบบประสาทเเละสมอง
1.ประเมินอาการการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยได้เเก่ ปวดศีรษะ มองเห็นภาพซ้อน ซึมลง
2.จัดสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบเตียงโดยไม่ให้มีสิ่งของกีดขวาง
3.เเนะนำให้ผู้ป่วยเเละมารดาให้ระวังการเคลื่อนไหว
4.แนะนำเวลาผู้ป่วยไปเข้าห้องนำ้ ควรระมัดระวังอาจเกิดการหกล้มได้
ญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคที่ผู้ป่วยเป็น
1.เข้าไปพูดคุยกับญาตด้วยท่าทีเป็นมิตร เเละตั้งใจฟังในสิ่งที่ผู้ป่วยกำลังพูด
2.พูดคุยกับญาตเเสดงความคิดเห็น เห็นอก เห็นใจ พูดคุยอย่างเป็นกันเอง
3.กระตุ้นให้ญาติได้ระบายในสิ่งที่กังวลใจเเละหาเเนวทางในการลดความวิตกกังวล
4.พยายามพูดคุยเเละสะท้อนให้ญาติปรับตัว
5.ให้กำลังใจเเละปลอบใจ
6.เเนะนำเทคนิคการผ่อนคลาย เช่นการออกกำลังกาย ฟังเพลงที่ผ่อนคลายความเครียด การสร้างจินตภาพ เป็นต้น