Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acquired Immune Deficiency Syndrome (อาการและอาการแสดง (น้ำหนักลดโดยไม่ทรา…
Acquired Immune Deficiency Syndrome
ความหมาย
เกิดจากเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า Human Immunodeficiency Virus
เมื่อเชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกาย จะเข้าไปทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ซึ่งทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย เมื่อเซลล์เม็ดเลือดขาวถูกทำลายมากขึ้น จึงทำให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่ำลง จนในที่สุดร่างกายไม่มีสามารถต่อสู้กับเชื้อโรคต่างๆ ที่เข้าสู่ร่างกายได้
สาเหตุ
การติดต่อ
การร่วมเพศไม่ได้ป้องกัน
การรับเชื้อทางเลือด เข็ม และการรับเลือด
ถ่ายทอดจากแม่สู่ลูก
ระยะตั้งครรภ์
ทารกจะได้รับเชื้อผ่านทางกระแสเลือดโดยเฉพาะในไตรมาสแรก
ระยะคลอด
ช่วงที่ทารกมีโอกาสติดเชื้อจากมารดามากที่สุด
จากการสัมผัสหรือกลืนเลือด และสารคัดหลั่ง
ติดต่อทางน้ำนมแม่
ในน้ำนมแม่จะมีเชื้ออยู่
ช่องทางการติดต่อ
เลือด น้ำเหลือง เนื่อเยื่อต่างๆ
น้ำลาย เสมหะ น้ำนม
เหงื่อ ปัสสาวะ อุจจาระ
น้ำอสุจิ น้ำในช่องคลอด
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสียงด้านมารดา
ประวัติเคยติดเชื่อเอชไอวี
ตรวจเลือดพบ CD4 ต่ำ viral load สูง :star: มีอาการแสดงของโรคเอดส์ :
มีการติดเชีอระหว่างตังครรภ์์
มีอาการของการติดเชื่อของเยือหุ้มทารกในครรภ์ (Chorioamnionitis)
ไม่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี
มีพฤติกรรมเสียงที่ทำให้อาการของโรคเลวลง เช่นติดยาเสพติด สูบบุหรี่
ปัจจัยเสี่ยงด้านการคลอด
วิธีการคลอด
ถ้ามีอาการเจ็บครรภ์และปากมดลูกเปิดมีความก้าวหน้าของการ
คลอดแล้วให้คลอดทางช่องคลอด :star: จะพิจารณาผ่าตัดเด็กออกทางหน้าท้องฉพาะกรณีมีข้อบ่งชี้
ถุงน้ำคร่ำแตกนานกว่า 4 ชั่วโมงก่อนคลอด
ตกเลือดระหว่างคลอด
ปัจจัยเสี่ยงด้านทารก
กรณีครรภ์แฝด ทารกที่คลอดออกมาคนแรกมีโอกาสสัมผัสเชื่อเอชไอวีมากกว่าทารกคนหลัง
ทารกที่กินนมแม่ จะเพิ่มอัตราการติดเชื่อเอชไอวีร้อยละ 3-14
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ
(ลดเกิน10 %ของน้ำหนักเดิม หรือเกิน 10 kg)
ไข้ 38 องศาเซลเซียสเรื้อรังเกิน 4 สัปดาห์
ท้องเสียเรื้อรังโดยไม่ทราบสาเหตุ
เหงื่อออกตอนกลางคืนโดยไม่ทราบสาเหตุ
เชื้อราในช่องปาก
มีอาการทางประสาท หลงลืม
เป็นโรคติดเชื้อฉวยโอกาสอื่นๆ
เป็นโรคเกี่ยวกับปอด
การรักษา
ระยะตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำและวางแผนในเรื่องการป้องกันการแพ่กระจายเชื้อ
กรณีที่พบภาวะแทรกซ้แนหรืออาการแสดง ให้รักษาตามสิ่งที่เกิดขึ้น
ให้ยาต้านไวรัสและสารเพิ่มพูมต้านทาน
ยากลุ่ม Nucleosides Reverse Transcriptase Inhibitors (NRTIs)
Zidovudine (AZT) Tenofovir (TDF) Emtricitabine (3TC)
Teno-em® มีตัวยาสำคัญคือ tenofovir 300 มิลลิกรัม และ emtricitabine 200 มิลลิกรัม :star:
Interferons ยาต้านไวรัส
Non-Nucleoside Reverse Transcriptase Inhibitor (NNRTIs)
Nevirapine (NVP) Efavirenz (EFV) Rilpivirine (RVP)
Protease inhibitors (PIs) ยับยั้งการสร้างโปรตีนของไวรัส
Darunavir (DRV), Indinavir (IDV),
Nelfinavir (NFV), Ritonavir (RTV), Saquinavir (SQV), Kaletra@ (lopinavir/ritonavir, LPVIr), :star: Reyataz@
(atazanavir/ritonavir, ATVIr) เป็นตัน
Integrase strand transfer inhibitors (INSTIร) ยับยั้ไม่ให้ DNA ของไวรัสรวมตัวกับ DNA ของคน
Dolutegravir (DTG), Elvitegravir (EVG), Raltegravir (RAL)
Entry/Fusion inhibitors ยับยั้งไม่ให้ไวรัสเข้าเซลล์ได้
Enfuvirtide (INN), Maraviroc (EVG)
ระยะคลอด
ป้องกันการแพ่กระจายเชื้อโดยยึดหลัก Universal precaution
ใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด ตามข้อบ่งชี้เท่านั้น
การ C/S ไม่ได้ป้องกันการติดเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทำscalp blood sampling
หรือ Internal fetal monitoring
กรณีไม่ได้ฝากครรภ์ และไม่เคยได้รับยาต้านไวรัสมาก่อน
เมื่อเจ็บครรภ์คลอดแนะนำ AZT 300 mg q 3 hr หรือ 600 mg ครั้งเดียว หากคาดว่าจะยังไม่คลอดใน 2 ชม. ให้ NVP 200 mg 1 dose แต่หากคาดว่าจะคลอดภายใน 2 ชั่วโมง ให้งดยา NVP :star:
ระยะหลังคลอด
งดดูดนมมารดา เลี้ยงด้วยนมผสม
ทารกควรได้รับการเฝ้าระวังจนอายุ 18 เดือน
การให้ยาในทารกแรกเกิด
การให้ยาในทารกที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อทั่วไป (standard risk) ได้แก่ ทารกที่แม่ได้ยา HAART สม่ำเสมอนานกว่า 4 สัปดาห์ก่อนคลอด หรือมี VL เมื่อใกล้คลอด≤ 50 copies/mL ให้ AZT 4 mg/kg/dose ทุก 12 ชม. นาน 4 สัปดาห์ โดยให้เริ่มยาต้านไวรัสเร็วที่สุดหลังคลอด ไม่ต้องให้ NVP
การให้ยาในทารกที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อจากแม่สูง (high risk) ได้แก่ แม่ได้รับยา HAART ไม่สม่ำเสมอ หรือได้มาน้อยกว่า 4 สัปดาห์ก่อนคลอด หรือมี VL เมื่อใกล้คลอด > 50 copies/mL ควรให้ยา 3 ตัวแก่ทารกเร็วที่สุด ได้แก่ AZT 4 mg/kgทุก 12 ชม. ร่วมกับ 3TC 2 mg/kg ทุก 24 ชม. และ NVP 4 mg/kg ทุก 24 ชม. นาน 6 สัปดาห์ :star:
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
การมีเพศสัมพันธ์
การติดยาเสพติด
การถ่ายเลือด
การเจ็บป่วยในครอบครัว
ประวัติโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
การตรวจร่างกาย
อ่อนเพลีย น้ำหนักตัวลด
มีไข้ ถ่ายเหลว
มีผื่นหรือจ้ำเลือดตามตัวที่หาสาเหตุไม่ได้
มีอาการทางระบบประสาท
ซีด Lymphocytopenia และเกร็ดเลือดต่ำ
บางรายจะพบหูดหงอนไก่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Anti-HIV testing :star:
HIV viral load > 50 copies :star:
CD4 < 500 cell/mm3 :star:
การตรวจพิเศษ
ELISA
Enzyme-Linked Immonosorbent Assay
ใช้เชื้อ HIVที่มีชีวิตทำให้แตกเป็นแอนติเจน
เป็นวิธีที่นิยม ให้ผลเร็ว และแม่นยำสูง
PA
Particle agglutination
เป็นการทดสอบหาแอนติบอดีต่อเอชไอวีโดยอาศัยหลักการเกาะกลุ่มเม็ดเจลซึ่งเคลือบด้วยแอนติเจนของเอชไอวี่มื่อจับกับแอนติบอดีอ่านผลภายใน 2 ชัวโมง
วิธีการตรวจยืนยัน
RIPA
Radio-Immonosorbent Assay
ใช้โปรตีนจากแกนของไวรัส HIVเป็นแอนติเจน
WB (Westen blot test)
ดูว่าในซีรัมของสตรีตั้งครรภ์มีแอนติบอดีต่อโปรตีนและ gycoprotein
ต่างๆ ของเชือเอชไอวีหรือไม่
negative แสดงว่าไม่พบแอนติบอดี
IFA (Immunofluorescent assay)
ใช้ชุดนำยาประกอบด้วยสไลด์แก้วชนิดหลุมเคลือบด้วยเซลล์ MT-4 ที่ติดเชื้อและไม่ติดเชื่อเอชไอวี่ในอัตราส่วน 1 ต่อ 3
วิเคราะห์โดยแอนติบอดีในชีรัมทำปฏิกิริยากับแอนติเจนของเชื่ออชไอวีในเซลล์ แล้วตรวจจับด้วย ant-human IgG-FITC (conjugate)
ซึ่งจะเรืองแสงเมื่อดูด้วยกล้องจุลกรศน์ฟลูออเรสเซนต์
ถ้าตรวจครั้งแรกให้"สรุปผลไม่ได้"มาตรวจซ้ำที่2สัปดาห์หรือ1เดือน
ระยะของเอดส์
ระยะไม่ปรากฎอาการ( Asymptomatic stage )
ไม่ปรากฏอาการผิดปกติใดๆ :star:
จากระยะแรกเข้าสู่ระยะที่ 2 จะใช้เวลาประมาณ 7 – 8 ปี
ระยะที่มีอาการ( Symptomatic stage )
ระยะเริ่มปรากฎอาการ
เชื้อราในปาก กระพุ้งแก้ม เพดานปาก
ต่อมน้ำเหลืองที่คอ รักแร้ ขาหนีบโต
งูสวัดหรือแผลชนิดลุกลาม
ไข้ ท้องเสีย ผิวหนังอักเสบ น้ำหนักลด
ระยะโรคเอดส์
เชื้อฉวยโอกาส
วันโรค
ปอดบวมจากเชื้อ Pneumocystis Carinii
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ Cryptococcus
เชื้อราในทางเดินอาหาร
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อรา
Candidiasis(Thrus)
มีลิ้นเป็นฝ้าขาว
คลื่นไส้ อาเจียน
Cryptococcal Disease
Histoplasmosis
ติดเชื้อแบคทีเรีย
Microbacterium Avium Complex (MAC)
Tuberculosis
ติดเชื้อไวรัส
Herpes
ไวรัสตับอักเสบ ซี
Cytomegalovirus(CMV)
ติดเชื้อปรสิต
Toxoplasmosis gondii(TOXO)
Pneumocystis carinii Pneumonia(PCP)
cryptosporidiosis
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ไม่สามารถยืนยันได้ชัดเจนว่าการติดเชื้อส่งผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อทารกในครรภ์และหลังคลอด
ในระยะตั้งครรภ์
เชื้อผ่านจากรกเข้าสู้ทารกได้
อาจมีการแท้งเองหรือตายคลอด
ทารกเกิดมามีอาการผิดปกติของใบหน้าและกระโหลกศีรษะ
ระยะคลอด
เชื้อจะผ่านทางเลือด น้ำคร่ำ และสารคัดหลั่ง
ระยะหลังคลอด
เชื้อจะผ่านทางน้ำนมมารดา
อาจพบเด็กตัวเล็ก เลี้ยงไม่โต มีเชื้อราในปาก ตับโต ปอดแักเสบ เป็นต้น
ผลของโรคเอดส์ต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
การแท้งบุตร
เจ็บครรภ์และคลอดก่อนกำหนด
น้ำคร่ำติดเชื้อ
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
แผลหายช้า
ตกเลือดระหว่างคลอดและหลังคลอด
ติดเชื้อในโพรงมดลูกหลังคลอดง่าย
มีการติดเชื่อระบบอวัยวะสืบพันธุ์และทางเดินปัสสาวะ
ผลต่อทารก
ทารกมีโอกาสติดเชื้อจากมารดาได้ร้อยละ 35
การติดเชื้อระหว่างคลอด
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย
ทารกตายระหว่างการคลอด