Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Brain tumor (ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (ไม่สุขสบายจากอาการปวดศีรษะและอาเจียน…
Brain tumor
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- ไม่สุขสบายจากอาการปวดศีรษะและอาเจียนเนื่องจากความดันในกะโหลกศีรษะสูง
- วิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและแผนการรักษาพยาบาล
- เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับการกระทบกระเทือนจากการผ่าตัดสมอง
- เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดและรังสีรักษา
การวินิจฉัยโรค
- การซักประวัติ ซักประวัติของการเกิดอาการ เช่น ประวัติการปวดศีรษะในตอนเช้า อาเจียนพุ่ง การ มองเห็นเปลี่ยนไป เกร็ง และซัก เป็นต้น :check:
- การตรวจร่างกาย ตรวจร่างกายทุกระบบจะพบกระหม่อนหน้าโป่ง รอบศีรษะโตขึ้น การเคลื่อนไหวของ ร่างกายผิดปกติ การมองเห็นผิดปกติ รวมทั้งมีอาการและอาการแสดงดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น :check:
- การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง
การถ่ายภาพรังสีเมื่อฉีดสารทึบแสงเข้าหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงสมอง 17 Angiography)
การตรวจคอมพิวเตอร์สมอง (CT Scan) :check:
การตรวจเอ็มอาร์ไอ (MRI = Magnetic (Resonance Imagine)
การเจาะหลัง :check:
-
พยาธิสรีรภาพ
เนื้องอกในสมองมีโอกาสเกิดได้ในทุก ๆ เซลล์ของสมองโดยเนื้องอกอาจเป็นเนื้องอกธรรมดาหรือเนื้อร้ายแต่ส่วนใหญ่จะเป็นเนื้อร้ายหรือโรคมะเร็ง การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสรีรภาพขึ้นอยู่กับตำแหน่งของเนื้องอก
การเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับตำแหน่งของเนื้องอก ส่วนใหญ่มักจะมีอาการของความดันในกะโหลกศีรษะสูง ซัก มีปัญหาการมองเห็น การเคลื่อนไหวของร่างกาย มีการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว เป็นต้น .
เนื้องอกในสมองส่วนใหญ่เกิดที่ Posterior Fossa ประมาณร้อยละ 50 เป็นชนิด Astrocytoma ร้อยละ 25 เป็น Medulloblastoma ร้อยละ 11 เป็นที่ก้านสมอง Glioma และร้อยละ 9 เป็น Ependymona
อาการและอาการแสดง
-
- อาเจียนตอนเช้าซึ่งไม่สัมพันธ์กับการรับประทานอาหาร ลักษณะเป็นการอาเจียนพุ่ง :check:
-
- กล้ามเนื้ออ่อนแรง การเคลื่อนไหวผิดปกติ :check:
-
วิธีการรักษา
- การรักษาด้วยการผ่าตัดผ่าตัด
อาจต้องต่อท่อ (Shunt) เพื่อลดปริมาณน้ำในสมอง (Hydrocephalus) ลง โดยการทำ Ventriculoperitoneal Shunt :check:
- การรักษาด้วยรังสี
เด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ควรหลีกเลี่ยง
- การรักษาด้วยยาเคมีบำบัดและยาอื่น ๆ
3.1 ยาเคมีบำบัดที่ใช้รักษาเช่น ซิสแพลทตินั่ม (Cisplatinum) วี.พี. 16 (VP-16) ยาในกลุ่มไนโตร- โซยูเรีย (BENU และ CCNU) เมทโธเทรกเซท วันคริสตีน เป็นต้น
3.2 ลดภาวะบวมของสมองโดยใช้เดกซาเมทธาโซน (Dexamethasone)
3.3 ควบคุมอาการชักโดยใช้ยาฟีในบาบ (Phenobarb) และไดอะซิแปม (Diazepam) เป็นต้น :check:
- รักษาโดยใช้หลาย ๆ วิธีร่วมกัน เช่น รักษาโดยการผ่าตัดควบคู่กับการให้รังสีรักษา การผ่าตัดควบคู่ กับการให้ยาเคมีบำบัด หรือใช้การรักษาทั้งสามวิธีร่วมกัน :check:
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นโรคเนื้องอกในสมอง คือ ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการทำผ่าตัด เช่น ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น การมีเลือดออก การมีน้ำคั่งในสมอง นอกจากนั้นเป็นภาวะแทรกซ้อนจาก การรักษาด้วยยาเคมีบำบัดและรังสีรักษา