Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Diabetes Mellitus (แนวทางการดูแลรักษา (ระยะก่อนคลอด (ควบคุมระดับน้ำตาล,…
Diabetes Mellitus
แนวทางการดูแลรักษา
ระยะก่อนคลอด
ควบคุมระดับน้ำตาล, Diet control, ตรวจ FBS และ 2 hr pp ทุก 2 wks., นับลูกดิ้น, ทำ NST, ให้คลอดเมื่อ GA 38 wks.
ระยะคลอด
เตรียมทีม, ควบคุมระดับน้ำตาล, fetal monitoring, ให้คลอดทางช่องคลอดได้, ติดตามความก้าวหน้าของการตลอดเป็นระยะ
ระยะตั้งครรภ์
การควบคุมระดับน้ำตาล, การประเมินสภาพทารกในครรภ์, การนัดตรวจครรภ์ เริ่มตั้งครรภ์ - GA 28 wks นัดทุก 4 wks. GA 29-31 wks. นัดตรวจทุก 2 wks. GA 32 wks. นัดตรวจทุกสัปดาห์
ระยะหลังคลอด
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด, ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด, ให้นมบุตรได้, คุมกำเนิดด้วยการสวมถุงยางอนามัย, มาตรวจตามนัดหลังคลอด
ระยะก่อนตั้งครรภ์
ให้คำปรึกษาก่อนตั้งครรภ์, ความคุมน้ำตาบให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม 3 เดิอน, ควบคุม HbA1C, รับประทานกรดโฟลิก 400 ไมโครกรัม/วัน
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรคเบาหวาน
ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ
เกิดภาวะ Diabetes Ketoacidosis
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดยากขึ้น
เกิดภาวะแทรกซ้อนจากความผิดปกติของหลอดเลือด
ประเภทของเบาหวานในขณะตั้งครรภ์
A2 FBS > 105 mg/dL. 2- hr pp > 120 mg/dL. รักษาด้วย insulin
B, C, D, F, R, H และ T รักษาด้วยอาหาร และ insulin
A1 FBS < 105 mg/dL. 2- hr pp < 120 mg/dL. รักษาด้วยอาหาร
ผลของเบาหวานต่อการตั้งครรภ์
มารดา
ความดันโลหิตขณะตั้งครรภ์ เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การติดเชื้อ การตั้งครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios)
ภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)/ ภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia)
คลอดยาก (Dystocia) การตกเลือดหลังคลอด
ทารก
การแท้ง ความพิการแต่กำเนิด
ทารกตัวโต (macrosomia) ได้รับอันตรายจากการคลอด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ทารกคลอดก่อนกำหนด Hyaline membrane disease
ภาวะหายใจลำบาก (RDS), Polycythemia
ภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) , Hypocalemia
Hyperbilirubinemia มีโอกาสเป็นเบาหวานในอนาคต
พยาธิสภาพ
ครึ่งแรกของการตั้งครรภ์
estrogen และ progesterone เพิ่งการทำงานของ Beta cell ของตับอ่อนทำให้การหลั่งอินซูลินเพิ่มขึ้น
ครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
Human placenta lactogen, Corticosteroid, Glucagon เพิ่มขึ้น ยับยั้งการทำงานของอินซูลิน น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น อาจมีการสะสมของ lipolysis และ ketone
การวินิจฉัย
การตรวจคัดกรอง
ญาติสายตรงเป็นเบาหวาน, อายุ > 35 ปี, BMI > 30, urine sugar 1+ หรือ 2+, เคยคลอดทารกหนัก > 4,000 gm., อ้วนน้ำหนัก > 75 kg., เคยคลอดทารกเสียชีวิตไม่ทราบสาเหตุ, เคยคลอดทารกพิการแต่กำเนิด, ประวัติตั้งครรภ์แฝดน้ำ
วิธีตรวจคัดกรอง
GCT
ดื่มน้ำตาลกลูดคส 50 gm. ในน้ำ 100 ml. หลังจากนั้น 1 ชั่วโมงเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว > 140 mg/dl. ทำ OGTT
OGTT
NPO 8 hr., เจาะ FBS, ดื่มกลูดคส 100 gm. ในน้ำ 200 ml., เจาะ BS ในชั่วโมงที่ 1, 2 และ 3 OGTT ผิดปกติ 2 ค่าขึ้นไปถือว่าผิดปกติ
FBS,2 - hr pp
NPO 8 hr., เจาะ FBS, รับประทานอาหารตามปกติ, เจ้า BS หลังอาหาร 2 ชั่วโมง ค่า FBS > 105 mg/dL. 2 - hr pp > 120 mg/dL ถือว่าผิดปกติ
ความหมาย
เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากความผิดปกติของ metabolis ของสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต เนื่องจากการสร้าง insulin ไม่เพียงพอหรือนำ insulin ออกมาใช้ไม่ได้