Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน (โรคในระบบภูมิคุ้มกัน (ภาวะภูมคุ้มกันไวเกิน,…
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
ลักษณะทั่วไป
หน้าที่
Homeostasis เพื่อกำจัดเซลล์ปกติของร่างกายที่ทำงานไม่ไหวแล้ว
Surveillance เพื่อคอยดูการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ต่าง ตอยกำจัดเซลล์ที่มีการเปลี่ยนแปลงผิดปกติ
Defense เพื่อปกป้องร่างกาย
ส่วนประกอบ
Immune cell
Major histocompatibility complex (MHC)
Class 1 : สามรถจับ cytotoxic T cell
Class 3 proteins : ได้แก่ macrophage ,dendritic cell ,lymphotoxin
Class 2 : สามมารถจับกับ helper T cell
Immune system
Primary lymphoid organ
ต่อมไทมัส
ไขกระดูก
เซลล์ (Immune cell)
Secondary lymphoid organ
ม้าม
ต่อมน้ำเหลือง
Cytokines
ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน
ประเภท
Specific acquired immunity : เป็นระบบภูมิคุ้มกันที่้กิดขึ้นเมื่อร่างกายเคยได้รับเชื้อโรคนั้น
Innate immunity : เป็นระบบภูมิคุ้มกันแต่กำเนิด
การตอบสนองของร่างกาย
การตอบสนองด้านที่ 2 (Second line of defence)
เซลล์ต่างๆ เช่น Phagocytic cell
Natural killer cell (NK cells)
Epsinophils
Natural killer cell (NK cells)
โปรตีนที่ต่อต้านจุลชีพ (Antimicrobial protien)
Complement สร้างโดย macrophage
Interferons (INF) เป็นโปรตีนขนาดเล็ก หลั่งจากเซลล์ที่ติดเชื้อไวรัส
การตอบสนองด้านที่ 3 (Third line of defence)
Primary lymphoid organ
ภูมิคุ้มกันด้านเซลล์ (CMIR) มีหน้าที่ยับยั้งการติดเชื้อที่เกิดในเซลล์
ภูมิคุ้มกันแบบสารน้ำ (HIR) เป็นภูมิคุ้มกันจำเพาะที่ใช้สารน้ำยับยั้งการติดเชื้อที่เกิดนอกเซลล์
Secondary lymphoid organ
อวัยวะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ต่อมน้ำเหลือ ม้าม payer's patch
การตอบสนองด้านแรก (First line of defence)
เช่น การป้องกันที่ผิวหนังและเยื่อบุที่มีลักษณะชื่น สร้างสารมีฤทธิ์ทำลายแบคทีเรีย
การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน
การตอบสนองแบบจำเพาะ
ภูมิคุ้มกันแบบสารน้ำ (HIR)
กลุ่มที่ 1 memory cell
เป็นเซลล์ที่เก็บความทรงจำจากประสบการณ์ที่เคยพบ antigen ชนิดนั้น
กลุ่มที่ 2 plasma cell
Immunoglobulin A (Ig A)
Immunoglobulin M (Ig M)
Immunoglobulin D (Ig D)
Immunoglobulin G (Ig G)
Immunoglobulin E (Ig E)
ภูมิคุ้มกันด้านเซลล์
เมื่อ T lymphocyte ถูกกระตุ้น จะเจริญเติบโตและ แบ่งตัวเป็น effector cell ชนิดต่างๆ
Memory cell
Lymphocyte producing cell
Cytotoxin cell (Tc)
Suppressor T (Ts)
Helper T cell
การตอบสนองแบบไม่จำเพาะ
การตอบสนองทางระบบภูมิคุ้มกันโดย T cell
โรคในระบบภูมิคุ้มกัน
ภาวะภูมิคุ้มกันต่อตนเอง
Organ-specific autoimmune diseases
Hashimoto's thyroiditis : เป็น autoantibody ต่อแอนติแจนของต่อมไทรอยด์หลายชนิด
Grave's disease : เกิดจากการมี autoantibody ต่อ THSR ทำให้สร้างไทรอยด์ฮอร์โมนมากผิดปกติ
Type 1 diabetes mellitus : เกิดจากการมี autoantibody ต่อ เบต้า islet cell ในตับอ่อน ทำให้สร้างอินซูลินได้ลดลง
Multiple sclerosis (MS) : ผู้ป่วยมีการกระตุ้น autoreactive ของ T cell มีผลต่อการทำงานชอง myelin ในระบบประสาท
Autoimmune hemolytic anemia : ผู้ป่วยสร้าง autoantibody ต่อเม็ดเลือดแดงของตนเอง
Myasthenia gravis : ผู้ป่วยมี autoantibody ต่อ acetylcholine recepter ของเซลล์กล้ามเนื้อ
Non-organ-specific autoimmune diseases
Rheumatoid arthritis (RA) : โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ คาดว่าเกิดจาก immune complex ที่เกิดขึ้นไปเกาะตามข้อหรือเนื้อเยื้อต่างๆ
Scleroderma : เกิดจากการมี collagen สะสมในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
Systemic lupus erythematosus (SLE) : เกิดภาวะภูมิไวเกินของเม็ดเลือดขาวชนิด T และ B lymphocyte
โรคที่เกิดจากการเพิ่มจำนวนเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน โดยไม่ทราบสาเหตุ
Intermediate lymphoproliferation : ความผิดปกตินี้จะไม่พบ antigen ที่ชัดเจน
Malignant lymphoproliferation : พบความผิดปกติที่ B lymphocyte plasma หรือ ความผิดปกติที่ T lymphocyte
Reactive lymphoproliferation : เป็นการตอบสนองตามปกติต่อการกระตุ้นของ antigen ต่อมน้ำเหลืองจะโต
ภาวะพร่องภูมิคุ้มกัน
Primary immunodefiiciency
Deficiency of innate immune mechanism
Phagocytic cell defect : เป็นความผิดปกติของ T cell และ ฺ B cell
Complement system deficiencies : เป็นความผิดปกติของเซลล์ที่สร้าง complement
Deficiency of specific acquired immunity
Predominantly T cell defiiciency : คือภาวะที่ T-cell ทำงานผิดปกติมักจะมีความผิดปกติของการสร้าง antibody ร่วมด้วย
Immunodeficiency with other abnormalities
Digeorgr syndrome : เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม จากการพัฒนาที่ผิดปกติของ pharygeal pouches ที่ 3และ 4
Wiskott-Aldrich syndrome (WAS) : เกิดจากการมี mutation ของ gene ที่ควบคุมการสร้าง WAS protien
Ataxis-Telangiectasia (AT) : เกิดจาการมี mutation ของ gene ที่เรียกว่า AT mutated
Predominantly antibody defects
X-linked agammaglobulinemia (XLA) : เป็ฯภาวะภูมิคุ้มกันพร่องแต่กำเนิด จะมีระดับ immunoglobin ต่ำสุด
Common variable immunodeficiency (CVID) : ผู้ป่วยมักมีอาการติดเชื้อบ่อยโดยเฉพาะ ระบบทางเดินหสยใจ และระบบทางเดินอาหาร
Selective IgA deficiency (SIAD) : เป็ฯภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องชนิดปฐมภูมิที่พบบ่อย ผู้ป่วยส่วนทากไม่มีการติดเชื้อที่บ่อยกว่าคนปกติ
IgG subclass deficiency : ผู็ป่วยมีความผิดปกติของ IgG
combined immunodeficiency : โรคนี้จะมีความผิดปกติของภูมิคุ้กันทั้ง 2 ประเภทร่วมกัน
Secondary immunodefiiciency
สาเหตุ
multifactorial secondary immunodefiiciency คือภาวะพร่องภูมิคุ้มกันที่เกิดจากการติดเชื้อทำลายระบบภูมิคุ้มกัน
เอดส์ เกิดจากเชื้อไวรัส HIV เข้าไปทำลาย TH lymphocyte มีผลทำให้ระบบภูมิคุ้มกัน CMIR ,HIR ทำงานลดลง
ภาวะภูมคุ้มกันไวเกิน
Type 2 Hypersentation : เป็นภาวะภูมิคุ้มกันไวเกินที่จำเพาะต่อเซลล์หรือเนื้อเยื่อนั้นที่มีปฏิกิริยาตอบสนองกับเซลล์ antibody ชนิด IgG และ IgM
Type 3 Hypersentation : เกิดจากเมื่อได้รับ antigen มากทำให้เกิดการสร้าง complement ที่ผิดปกติ เกิดเป็น antigen-antibody-complexes
Type 1 Hypersentation : อาจเกิดจากสื่งกระตุ้นที่เป็น antigen เข้าสู่ร่างกายจะทำปฏิกิริยากับ IgE ไปจับกับตัวรับที่ผนังเซลล์ Basophil mast cell เมื่อรับ antigen ซ้ำ จะรวมตัวกับ IgE ที่จำเพาะเกิดการการหลังสารที่ทำให้เกิดอาการแพ้
Type 4 Hypersentation : ไม่มี antibody มาเกี่ยวข้องแต่เกี่ยวกับ macrophage และ antigen presenting cell