Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Disease Mapping (Spinal Inuries (การบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังและไขสันหลัง),…
Disease Mapping
Spinal Inuries (การบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังและไขสันหลัง)
กายวิภาคของกระดูกสันหลัง
กลไกการบาดเจ็บของกระดูกสันหลังและ
ไขสันหลัง
กัมคอเต็มที่ (Hyperflexion) เกิดจาก การใช้ความเร็วสูงและหยุดกะทันหัน เช่น ขับรถ มาด้วยความเร็วสูงแล้วชนกำแพงและรถหยุด กะทันหัน
แหงนคอเต็มที่ (Hyperextension) พบ บ่อยในผู้สูงอายุเนื่องจากการเสื่อมของกระดูก เช่น ตกบันได หกล้มคางกระแทกพื้น หรือขับรถ แล้วถูกชนด้านหลังทำให้ศีรษะเคลื่อนไปชน กระจกรถเกิดแรงเหวี่ยงกลับศีรษะจึงแหงนไป ด้านหลัง บาดเจ็บชนิดนี้ทำให้มีการหักหรือหลุด ของกระดูกสันหลังด้านหลัง และมีการฉีกขาด ของเอ็นด้านหน้า มักพบที่กระดูกคอชิ้นที่ 4-5 ทำให้ มีปัญหาในการหายใจ
คอบิดหรือหมุนอย่างรุนแรง (Excessive Rotation) เกิดจากการหมุนหรือบิดของศีรษะ และคออย่างรุนแรง ทำให้เอ็นด้านหลังฉีกขาด ข้อต่อกระดูกสันหลังหลุด กระดูกแตกยุบและอาจ มีการหักของกระดูกด้านข้าง
บาดเจ็บในแนวดิ้ง (Vertical Compres- sion/Axial loading) เช่น อุบัติเหตุขณะดำน้ำ ตกจากที่สูงโดยเท้าหรือกันกระแทกพื้นทำให้กระดูก สันหลังยุบลงและกดไขสันหลัง
มีแผลทะลุทะลวง (Penetrating injury) เช่น ถูกแทง ถูกยิง ทำให้เกิดการบาดเจ็บทั้งทางตรง และทางอ้อม โดยไขสันหลังจะบวมและเนื้อเยื่อ ไขสันหลังจะตายจากการขาดเลือด
กระดูกสันหลัง (Spine/vertebra) มีทั้งหมด33 ชิ้น ทำหน้าที่ยึดลำตัวให้ตั้งตรงและปกป้องอันตรายให้แก่ไขสันหลังและประสาทสันหลัง โดยเป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อหลังและเชื่อมต่อกับกะโหลกศีรษะ กระดูกสะบัก ชี่โครงและกระดูกเชิงกราน แบ่งเป็นระดับต่างๆ
กระดูกสันหลังระดับทรวงอก (Thoracic vertebrae/spine) มีทั้งหมด 12 ชิ้น กระดูกส่วนนี้มีลักษณะพิเศษ คือ มีจุดเชื่อมต่อกับกระดูกซี่โครง
กระดูกสันหลังระดับเอว (Lumbar)
มีทั้งหมด 5 ชิ้น กระดูกส่วนนี้จะมีขนาดใหญ่เพื่อรองรับน้ำหนักของร่างกหายท่อนบนและมีส่วนที่เป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อที่ผนังด้านหลัง
กระดูกกระเบนเหน็บ (Sacrum) มีทั้งหมด 5 ชิ้น (เชื่อมติดต่อเป็นชิ้นเดียวกัน) กระดูกชิ้นี้จะต่อกับกระดูกเชิงกรานและมีช่องเปิด (sacral foramina) เพื่อเป็นทางผ่านของเส้นประสาทที่ไปเลี้ยงเชิงกรานและขา
กระดูกก้นกบ (Coccyx) มีทั้งหมด 4 ชิ้น(เชื่อมติดต่อเป็นชิ้นเดียวกัน) อยู่ล่างสุดของกระดูกสันหลัง มีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยมเล็กๆ เป็นกระดูกที่ไม่มีส่วนโค้ง (vertebral arch) และไม่มีช่องทางผ่านของไขสันหลัง (vertebral canal)
กระดูกสันหลังระดับคอ (Cervical ver-tebrae/spine) มีทั้งหมด 7 ชิ้น ทำหน้าที่เป็นที่เกาะของกล้ามเนื้อและเอ็นเพื่อช่วยในการเคลื่อนไหวของศีรษะและคอ
การแบ่งความรุนแรงของบาดเจ็บไขสั่นหลังตามเกณฑ์ American Spinal Injuries Association (ASIA)
A (complete)อัมพาตอย่างสมบูรณ์ ไม่มีการเคลื่อนไหวและไม่มีความรู้สึก
B (incomplete) มีความรู้สึกในระดับ S4-5 แต่เคลื่อนไหวไม่ได้เลย
C (incomplete) ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อตั้งแต่ระดับ 3
D (incomplete) ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป
E (normal)การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและการรับความรู้สึกปกติ
การแบ่งประเภทของบาดเจ็บไขสันหลัง
1. บาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์ (Com- plete cord injury)
หมายถึง การบาดเจ็บที่ทำให้ไขสันหลังสูญเสียหน้าที่ทั้งหมด ไม่สามารถเคลื่อน ไหวกล้ามเนื้อและรับความรู้สึกในส่วนที่ต่ำกว่า
1.1Tetraplegia (Quadriplegia) NU หมายถึง การเป็นอัมพาตของแขนขาทั้ง 4 รยางค์ จากมีการบาดเจ็บที่ไขสันหลังระดับคอ
1.2 Paraplegia หมายถึง อัมพาตเฉพาะ ท่อนล่าง แต่แขนยังทำงานได้ตามปกติ เกิดจาก บาดเจ็บระดับต่างๆ
2. บาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์ (In- complete spinal cord injury)
ไขสันหลังถูกทำลายบางส่วนทำให้สามารถเคลื่อน ไหวกล้ามเนื้อหรือรับความรู้สึกที่ผิวหนัง
กลุ่มอาการบาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์
Anterior cord syndrom หมายถึง การบาดเจ็บบริเวณส่วนหน้าของไขสันหลัง เกิดจากหลายสาเหตุ
Brown-Sequard syndrom หมายถึง การบาดเจ็บบริเวณซีกใดชีกหนึ่งของไขสันหลัง (lateral half) สาเหตุส่วนใหญ่มาจากถูกแทงหรือถูกยิง (penetrating injury) ทำให้ แขนขาซีกเดียวกับด้านที่ได้รับบาดเจ็บเป็นอัมพาต
Central cord syndrome หมายถึง การบาดเจ็บเฉพาะบริเวณกลางของไขสันหลัง ซึ่งมีเซลล์ประสาท ที่ควบคุมกล้ามเนื้อมือ พบบ่อยที่สุด อาจพบร่วมกับการเสื่อมของกระดูกคอ
Posterior cord syndrome หมายถึง มีการบาดเจ็บบริเวณส่วนหลังของไขสันหลัง ทำให้สูญเสียการ รับความรู้สึกการเคลื่อนไหวของข้อ
Conus medullaris syndrome หมายถึง มีการบาดเจ็บของไขสันหลังและรากประสาทระดับเอวถึงกระเบน เหน็บ (L3-S2) ทำให้กระเพาะปัสสาวะเป็นอัมพาตชนิดอ่อนปวกเปียก
Cauda equina syndromeเป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากรากประสาทระดับเอวและกระเบนเหน็บถูกทำลาย โดยที่ไม่มีการทำลายของเส้นประสาทไขสันหลัง ทำให้กล้ามเนื้อขา กระเพาะ ปัสสาวะ หูรูดและลำไส้ใหญ่อ่อนแรง
สาเหตุ
การพลัดตกจากที่สูง
จากการเล่นกีฬา
อุบัติเหตุทางจราจร
การประเมิน
ตรวจร่างกาย
ประเมินการหายใจ
ประเมินภาวะบวม
ประเมินประสาทสมอง
รังสีวิทยา
CT scan
MRT
Plain Film
ซักประวัติ
อาการ อาการแสดง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพาต ความรู้สึกเกี่ยวกับกาย อวัยวะภายใน เช่น ความรู้สึกปวดปัสสาวะ
การรักษา
การรักษาด้วยsteriod ขนาดสูง เช่น Methylprednisolone
ในรายที่เป็นอัมพาต
ดูแลทางระบบทางเดินหายใจ ใส่สายยางลงกระเพาะอาหาร เพื่อลดความดันในช่องท้อง และป้องกันการสำลัก คาสายสวนไว้ เนื่องจากกระเพาะอาหารไม่ทำงาน
ให้ยาลดกรดตามแผนการรักษา
Chest Injuries
บาดเจ็บทรวงอก
Pneumothorax ภาวะลมในโพรงเยื่อหุ้มปอด
สภาวะที่มีลมอยู่ในเยื่อหุ้มปอดแบ่งเป็น 3 ชนิด
1) ลมในโพรงเยื่อหุ้มปอด ชนิดความดันไม่เปลี่ยนแปลง
2.ความดันบวกจากลมรั่ว
3.ลมรั่วแบบแผลเปิด
อาการและอาการแสดง
หายใจและหัวใจถูกกด
ผนังทรวงอกข้างที่มีพยาธิสภาพเคลื่อนไหวตามการหายใจน้อยลง
.เคาะปอดข้างที่มีพยาธิสภาพได้เสียงโปร่ง
หลอดลมปอดข้างที่มีไปด้านตรงข้ามกับ ปอดข้างที่มีพยาธิสภาพ
การวินิจฉัย
1.ภาพถ่ายรังสีปอด จะเห็นเงาของลมเป็นสีอยู่ระหว่างปอดกับผนังทรวงอกและกระบังลม
2.เจาะโพรงเยื่อหุ้มปอด
การรักษา
การรักษา
ในภาวะรีบด่วนคือมีอาการแสดงทางคลินิคชัดเจน แพทย์จะรักษาโดยไม่ต้องรอผลยืนยันจากภาพรังสีปอดโดยใช้เข็มฉีดยาขนาดใหญ่หรือใช้เข็มฉีดยาหลายๆเล่มปักที่ช่องซี่โครงซี่ที่ 2 ตรงกึ่งกลางไห้ปลาร้า เข้าโพรงเยื่อหุ้มปอดเพื่อระบายลมออก หลังจากนั้นจึงใส่ท่อระบายทรวงอกที่ซี่โครงซี่ที่ 4 ของอกข้างที่มีพยาธิสภาพ
Hemothorax
ภาวะเลือดในโพรงเยื่อหุ้มปอด
ภาวะที่มีเลือดภายในโพรงเยื่อหุ้มปอด ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการฉีกขาดของผนังทรวงอกเนื้อปอด
อาการ
ขึ้นอยู่กับปริมาณเลือดที่ออก เช่น แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ หรือช็อกจากการเสียเลือด
การรักษา
-การใส่ท่อระบายทรวงอก
-รักษาโดยการผ่าตัด (Thoracotomy)
Pulmonary contusion
ภาวะปอดช้ำ
อาการ
ช่วงแรกๆจะไม่มีอาการ ต่อมาจะหายใจลำบาก มีภาวะหายใจล้มเหลว โดยจะเริ่มด้วยอาการไอเป็นเลือด เสียงลมเข้าปอดเบา มีเสียงลมผ่านของเหลว
สาเหตุ
อาจเกิดจากซี่โครงหัก อกรวนหรือกระดูกสันอกหักทำให้เกิดพยาธิสภาพที่เนื้อปอดมีเลือดออกในถุงลมปอด ถุงลมปอดบวม ความยืดหยุ่นลดลง การแลกเปลี่ยนก๊าซไม่มีประสิทธิภาพเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
การรักษา
แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนโดยการให้ออกซิเจนและอาจใส่เครื่องช่วยหายใจความดันบวกเพื่อให้ปอดขยายและจำกัดสารน้ำ
Spinal Shock ช็อกจากไขสันหลังได้รับบาดเจ็บ
ภาวะที่ไขสันหลังหยุดทำงานชั่วคราวโดยสิ้นเชิงหลัง ได้รับบาดเจ็บ เนื่องจากไขสันหลังที่ได้รับบาดเจ็บ ใหม่ๆ จะบวมมาก ใยประสาทจึงหยุดทำงาน ชั่วคราว เมื่อยุบบวมใยประสาทจึงกลับมาทำงาน ปกติ มักเกิดกับบาดเจ็บไขสันหลังตั้งแต่กระดูก อกชิ้นที่ 6 (T6 ) ขึ้นไปหรือสูงกว่าระดับทางออก ของประสาทซิมพาเตติกที่เลี้ยงช่องท้องและขา เนื่องจากทางผ่านของประสาทซิมพาเตติกถูก ตัดขาด
อาการที่สำคัญ
อวัยวะที่อยู่ต่ำกว่าระดับที่ไขสันหลังได้ รับบาดเจ็บลงมารวมถึงอวัยวะภายในช่องท้องจะ เป็นอัมพาตแบบอ่อนปวกเปียก (flaccid paralysis)
ความดันโลหิตต่ำ (Hypotension)
ไม่มีรีเฟล็กซ์ (Areflexia)
4.การเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง ผิวหนังบริเวณเหนือต่อตำแหน่งที่ได้รับบาดเจ็บจะเย็นและชื้น
การรักษา
1.ทำให้ส่วนที่หักหรือบาดเจ็บอยู่นิ่ง (Immobilization)
2.การดึงกระดูกให้เข้าที่ (Reduction/realignment)
3.การผ่าตัด
1.การผ่าตัดเชื่อมกระดูกคอด้านหน้า (Anterior cervical decompression and fusion)
2.การผ่าตัดเชื่อมกระดูกด้านหลัง(Posterior fusion)
3.การผ่าตัดเอากระดูกส่วน lamina ออก decompressive laminectomy