Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CHAPTER 4 ทฤษฎีการออกแบบการสร้าง และการประยุกต์ใช้นวัตกรรม …
CHAPTER 4
ทฤษฎีการออกแบบการสร้าง
และการประยุกต์ใช้นวัตกรรม
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทางการศึกษา
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจทฤษฎีการออกแบบและการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา
เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาได้
องค์ประกอบของนวัตกรรมการเรียนรู้
วัตถุประสงค์
เป็นส่วนที่บอกว่านวัตกรรมนั้นใช้เพื่อพัฒนาอะไร
ผลที่เกิดขึ้นจากการใช้คืออะไร วัตถุประสงค์ที่มีความชัดเจน
จะช่วยให้ผู้ที่ต้องการใช้นวัตกรรมนั้น มีข้อมูลสำหรับ
พิจารณาตัดสินใจ
แนวคิดพื้นฐาน
เป็นส่วนที่ทำให้นวัตกรรมมีความน่าเชื่อถือว่าเมื่อนำไปใช้ จะประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ดังนั้น
ทฤษฎี หลักการที่นำมาใช้เป็นแนวคิดพื้นฐาน ต้อง
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และให้แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และถ้าทฤษฎี
โครงสร้างหรือขั้นตอนการใช้
เป็นส่วนที่แสดงภาพรวมของนวัตกรรม ถ้านวัตกรรม
เป็นวัตถุ สิ่งของ จะมีโครงสร้างที่แสดง ส่วนประกอบต่าง ๆ
การประเมินผล
เป็นส่วนที่แสดงความสำเร็จของนวัตกรรม โดย
จะระบุวิธีวัดผล เครื่องมือที่ใช้วัดผล และวิธีการประเมินผล
การออกแบบ และการสร้างนวัตกรรม
นวัตกรรม หรือ นวกรรม มากจากคำว่า "นว" หมายถึง ใหม่ และ "กรรม" หมายถึง การกระทำ
เมื่อนำสองคำนี้มารวมกัน เป็น นวกรรม หรือ นวัตกรรม จึงหมายถึง การกระทำ
ใหม่ๆ หรือการพัฒนาดัดแปลงจากสิ่งใดๆ แล้วทำให้ดีขึ้น และเมื่อนำนวัตกรรมมา
ใช้ในวงการศึกษาจึงเรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา”
การออกแบบ และการสร้างนวัตกรรม
“นวัตกรรม” มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจากคำกริยาว่า innovate แปลว่า ทำใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ นวัตกรรม จึงหมายถึงการนำสิ่งใหม่ ๆ เข้ามา เปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการที่ทำอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น
การออกแบบ และการสร้างนวัตกรรม
ในวงการการศึกษามีการนำเอานวัตกรรมมาใช้ เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา(Educational Innovation) ซึ่งในวงการศึกษามีคำเกี่ยวกับนวัตกรรมอยู่ 3 คำ ได้แก่
นวัตกรรมการเรียนรู้ (Learning Innovation) หมายถึง สิ่งใหม่ที่นำมาใช้ให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ ในการนำนวัตกรรมมาใช้
เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพของการสอน
ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้
เรียน แต่บางครั้งมีการนำนวัตกรรมมาใช้ เพื่อแก้ปัญหาของผู้เรียน
นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมาย
ถึง สิ่งใหม่ที่นำมาใช้ในการจัดการศึกษา
นวัตกรรมการเรียนการสอน (Instructional Innovation) หมายถึง สิ่งใหม่ที่
นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
เป้าหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา
เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น
เพื่อทำให้การเรียนรู้บรรลุเป้าหมายทางการศึกษาที่วางไว้
เพื่อให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพบรรลุเป้าหมายได้ดี
ขึ้น
การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม
ศึกษาประเภทของนวัตกรรม
ศึกษาวิธีการสร้าง
ศึกษาหลักสูตรการศึกษา
ลงมือสร้าง
ทดลองใช้ในการจัดการเรียนการสอน และปรับปรุง
ประเมินผล
องค์ประกอบในการจัดทำนวัตกรรม
มีความรู้ รู้จุดเด่น ต้นทุน
คุณภาพ ฝีมือเดิม และสังเคราะห์ได้
ตรงตามความความจำเป็นในการแก้ปัญหา
ผลที่ได้มีคุณค่า
จัดการนำสู่ผลได้จริง
การสร้างนวัตกรรม
มีขั้นตอนสำคัญ ดังนี้
ปัญหาที่แท้จริงคืออะไร และจะแก้อย่างไร ประเด็นนี้มีความสำคัญ
มาก เพราะเราต้องรู้ปัญหาที่แท้จริงก่อนลงมือแก้ปัญหาจะทำให้สามารถแก้ปัญหาได้ตามเป้าหมายที่ต้องการ
นำปัญหาที่พบมาวาดเป็นภาพ โดยลงข้อมูลที่สำคัญ ๆ ก่อนไปที่ละภาพ
นำภาพที่ได้มาวิเคราะห์ หาสาเหตุว่าเป็นเพราะอะไรและจะแก้ไขได้
อย่างไร วิเคราะห์ต่อไปว่าการแก้ไขนั้น ๆ เรารู้อะไรบ้างและเราไม่รู้อะไร
การออกแบบ และการสร้างนวัตกรรม
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
(Educational Innovation) หมายถึง
การกระทำใหม่การสร้างใหม่ หรือการพัฒนาดัดแปลงจากสิ่งใดๆ แล้วทำให้การศึกษาหรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดีขึ้นกว่าเดิม
การนำนวัตกรรมการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์
( Implication of learning innovation )
เพื่อนำนวัตกรรมมาใช้แก้ปัญหาในเรื่องการเรียนการสอน
เพื่อนำนวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน
การนำนวัตกรรมไปใช้เป็นผลงานทางวิชาการ
ผลกระทบของนวัตกรรมการเรียนรู้ (Impacts of
learning innovation )
ครูผู้สอน
ต้องมีความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมประเภท Multimedia สามารถจัด
ทำสื่อนวัตกรรมออกมาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนสามาร
ถพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพอย่างเต็มที่และเต็มความสามารถ
ผู้เรียน
จะต้องสนใจใฝ่เรียนรู้ในเรื่องของการใช้นวัตกรรมในรูปแบบข
บทที่ 7
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
ทางการศึกษา
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
ทางการศึกษา
“แหล่งเรียนรู้” หมายถึง “แหล่ง” หรือ “ที่รวม” ซึ่งอาจเป็นสภาพสถานที่ หรือศูนย์รวมที่ประกอบด้วย ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และกิจกรรมที่มีกระบวนการเรียนรู้ หรือกระบวนการเรียนการสอน ที่มีรูปแบบ
แตกต่างจากกระบวนการเรียนการสอนที่มีครูเป็นผู้สอน
เครือข่าย (Network)
เครือข่ายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
เครือข่ายโดยการจัดตั้งขึ้น
เครือข่ายการเรียนรู้
ความหมายของเครือข่ายการเรียนรู้
หมายถึง การเรียนรู้ในระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมทางการศึกษาของมนุษย์ ทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อุดมศึกษา และการศึกษาผู้ใหญ่
ความสำคัญของเครือข่ายการเรียนรู้
ปัจจุบันมีการสร้างระบบเครือข่ายการเรียนรู้กันมากขึ้น เพื่อ
เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดระบบการเรียนการสอน
รูปแบบใหม่ในสถาบันการศึกษา
แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข่าวสารข้อมูล
สารสนเทศ และประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียน
ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเอง
สามารถแบ่งได้ประเภทของแหล่งการเรียนรู้ไว้ 2 แบบ
จัดตามลักษณะของแหล่งการเรียนรู้
1.1 แหล่งการเรียนรู้ตามธรรมชาติ
1.2 แหล่งการเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
1.3 บุคคล
จัดตามแหล่งที่ตั้งของแหล่งการเรียนรู้
2.1 แหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน
2.2 แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้
สามารถเข้าถึงได้กว้างขวาง ง่าย สะดวก นักเรียนสามารถเรียกข้อมูลมาใช้ได้ง่าย
เป็นการเรียนแบบร่วมกันและทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
สร้างกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้กระทำมากกว่าเป็นผู้ถูกกระทำ
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน และเน้นบทบาทที่
เปลี่ยนแปลงไป
จัดให้เครือข่ายการเรียนรู้เป็นเสมือนชุมชนของการเรียนรู้แบบออนไลน์
แนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาเครือ
ข่ายการเรียนรู้
แบ่งออกเป็น 4 ขั้น ดังนี้
ขั้นการก่อรูปเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network forming)
ขั้นการจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network
organizing)
ขั้นการใช้เครือข่ายการเรียนรู้(learning network utilizing )
ขั้นการธำรงรักษาเครือข่ายการเรียนรู้ (learning network
maintaining)
กระบวนการและวิธีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้
การตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายเป็นขั้นตอนที่ผู้ปฏิบัติงานหรือฝ่ายจัดการตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายเพื่อที่จะ
การติดต่อกับองค์กรที่จะร่วมเป็นเครือข่ายหลังจากตัดสินใจเกี่ยวกับ
องค์กรที่เห็นว่าเหมาะสมในการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายแล้ว
การสร้างพันธกรณีร่วมกัน เป็นข้นตอนการสร้างความผูกพันร่วมกัน มีการตกลงใจในความสัมพันธ์ต่อกันและตกลงที่จะทำงานร่วมกันเป็นเครือข่าย
การพัฒนาความสัมพันธ์ร่วมกัน เป็นขั้นตอนที่สร้างเครือข่ายให้เกิดผลงานเป็นรูปธรรมโดยเริ่มทำกิจกรรมที่ใช้ทรัพยากรร่วมกันการทำกิจกรรมร่วมกัน
เป็นขั้นตอนที่เกิดขึ้นหลังจากมีการพัฒนาความ
สัมพันธ์ร่วมกันแล้ และนำไปสู่การทำกิจกรรมร่วมกันจนมีผลงานเป็นที่
การรวมตัวกันจัดตั้งองค์กรใหม่ร่วมกัน เพื่อรองรับจำนวนสมาชิกใหม่ที่มากขึ้น
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
เมื่อนำระบบเครือข่ายการเรียนรู้เข้ามาใช้กับระบบการศึกษา ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างมากมายในวงการศึกษา ทั้งในด้านรูปแบบการเรียนการสอน บทบาทของผู้สอน
บทบาทของผู้เรียน ดังนี้
1.รูปแบบการเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนเป็นหลักในการแสวงหา ค้นคว้าข้อมูลด้วยตนเองมากขึ้น
บทบาทของผู้สอน
บทบาทของผู้เรียน
บทบาทของการเรียนการสอน
ห้องเรียน
ศูนย์เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน
ฐานบริการข้อมูลการเรียน
บทที่ 5
การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรม
และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การประเมินสื่อการเรียน
การสอนนับว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญมากอีกขั้นตอนหนึ่ง
ความหมายของการประเมินผลสื่อ
การเรียนรู้
การประเมินผลสื่อการเรียนรู้ หมายถึง การนำเอาผลการวัดและประเมินสื่อ
การเรียนการสอนมาตีความหมาย ( Interpretation ) และ ตัดสินคุณค่า ( Value Judgment ) เพื่อที่จะรู้ว่าสื่อนั้นทำหน้าที่ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้แค่ไหน
มีคุณภาพดีหรือไม่เพียงใด มีลักษณะถูกต้องตามที่ต้องการหรือไม่ประการใด
ความสำคัญของการประเมินผล
สื่อการเรียนรู้
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนการสอน
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพของสื่อการเรียนรู้
เกิดการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
สร้างความมั่นใจและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินโดยผู้สอนผู้สอนควรเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการสอน เคยได้รับการฝึกอบรมจนมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับการผลิตและการใช้สื่อ
การประเมินโดยผู้ชำนาญ
ผู้ชำนาญในที่นี้ หมายถึง ผู้ชำนาญด้านสื่อการเรียนการสอนและจะต้องมี
ประสบการณ์ด้านการประเมินด้วย ดังนั้น ผู้ชำนาญอาจเป็นผู้สอน เป็นอาจารย์ใน
มหาวิทยาลัยที่สอนในสาขาวิชาสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา รวมทั้งอาจารย์ด้าน
การวัดผลและการประเมินผลที่มีความรู้ความสามารถด้านสื่อการเรียนการสอน เป็นต้น
การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ คณะกรรมการเฉพาะกิจเพื่อประเมินสื่อการสอนเป็นกลุ่มบุคคลที่หน่วยงาน
แต่งตั้งขึ้นมาประเมินสื่อ
การประเมินผลโดยผู้เรียน
ผู้เรียนเป็นเป้าหมายสำคัญของการใช้สื่อการเรียนการสอน ผู้เรียนเป็นผู้ใช้
สื่อหรือเรียนรู้จำสื่อการเรียนรู้นั้นๆ
การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ
เป็นอีกวิธีหนึ่งที่อาจทำได้ด้วยเช่นกัน ซึ่งการประเมินประสิทธิภาพของสื่อนั้น
สื่อที่จะต้องได้รับการประเมินประสิทธิภาพส่วนใหญ่จะเป็นสื่อที่ผลิตขึ้นตาม หลักการของการสอนแบบโปรแกรม
การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
การประเมินผลสื่อการเรียนรู้โดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน เป็นการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนเพื่อหาความเที่ยงตรง
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินสื่อจึงทำได้หลายลักษณะ คือ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบความถนัดเพื่อวัดสมรรถนะของผู้เรียน
แบบสอบถาม
การสังเกตเป็นการเฝ้าดูผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สื่อการสอน
การสัมภาษณ์เป็นการซักถามและพูดคุยกับทั้ง
ผู้ผลิต ผู้ใช้และผู้เรียน
บทที่ 6
รูปแบบและกลยุทธ์
การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา
“นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
Education 1.0
Learner as Receptacles of knowledge
ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้จากผู้สอน
เพียงอย่างเดียว
Education 2.0
Learner as Communicating, Connecting,
Collaborating and Co-creating
ผู้เรียนเป็น ผู้สื่อสาร เชื่อมโยง
ร่วมมือ และร่วมสร้างสรรค์
Education 3.0
Learner as Connectors, Creators and
Constructivists ผู้เรียนเป็น ผู้เชื่อมโยง
ผู้สร้างสรรค์ และสร้างองค์ความรู้
Education 4.0
Learner as lnnovation and Producing
education
ผู้เรียนเป็น ผู้สร้างนวัตกรรม และ
การศึกษาที่สร้างผลผลิต
กระบวนทัศน์การจัดการศึกษาศตววรรษที่ ๒๑
เน้นที่กระบวนการเรียนรู้มากกว่าความรู้
ครูไม่ใช่ผู้ที่มอบความรู้เพียงอย่างเดียว
ครูเป็นผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้พร้อมกับผู้เรียน
เป้าหมายของการเรียนรู้ไม่ใช่ที่ตัวความรู้
แหล่งเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ สามารถเปิดกว้าง
ได้อย่างไร้ขีดจำกัด
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
รหัสนักศึกษา 5906510106
นางสาวนัสริน อาแว
TH 2 / 59