Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Postterm Pregnancy) (การวินิจฉัย (กรณีศึกษา…
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Postterm Pregnancy)
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์มากกว่า 42 สัปดาห์ (294 วัน) หรือมากกว่าโดยนับตั้งเเต่วันเเรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย
กรณีศึกษา
มารดาอายุครรภ์ 40 wks. 2 day
สาเหตุ
ทารกที่เป็น anencephaly
ทารกที่มีภาวะต่อมหมวกไตฝ่อ
ทารกที่ไม่มีต่อมใต้สมอง
Placental sulfates deficiency
การตั้งครรภ์ในช่องท้อง
การวินิจฉัย
ประวัติวันเเรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย
ประวัติการฝากครรภ์ตั้งแต่ระยะแรก
การตรวจภายในเพื่อประเมินขนาดมดลูกในไตรมาสแรก
การตรวจอัลตราซาวน์ เพื่อประเมินอายุครรภ์
ประวัติทารกดิ้นครั้งแรก
กรณีศึกษา
มารดาตรั้งครรภ์เเรก GA 40 wks. 2 day LMP 18/02/62 EDC = 25/11/62 by. date
การตรวจปัสสาวะทดสอบการตั้งครรภ์ให้ผลบวกในช่วงแรกที่เริ่มขาดประจำเดือน
ปัจจัยเสี่ยง
การตั้งครรภ์แรก (Primiparity)
มารดาที่เคยมีประวัติตั้งครรภ์เกินกำหนดมาก่อน
(Prior postterm pregnancy
ทารกในครรภ์เป็นเพศชาย
(Male sex)
Adrenal hypoplasia
รกขาดเอนไซม์ sulfatase
(placental sulfatase deficiency)
กรณีศึกษา
มารดาตั้งครรภ์เเรก คลอดทารกเพศชาย
เเนวทางการรักษา
การประเมินททารกในครรภ์
การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อวัดค่า AFI รวมถึงการวัดค่าความลึกที่มากที่สุดของน้ำคร่ำ
การตรวจ NST
การตรวจ Biophysical profiles
การกำหนดเวลาที่เหมาะสมในการยุติการคลอด
ปัจจัย
ผลการประเมินความเเข็งเเรงของทารกในครรภ์
ความพร้อมของปากมดลูก
อายุครรภ์
การชักนำการคลอด
ทารกในครรภ์มีความผิดปกติจากการประเมินความเเข็งเเรงของทารกในครรภ์
ปากมดลูกมีความพร้อม
ปากมดลูกไม่มีความพร้อม
การตรวจติดตามอย่างใกล้ชิด(Expectant management)
อัตราการเต้นหัวใจทารก
Uterine Contraction
กรณีศึกษา
ประเมิน FHS ทุก 1 ชั่วโมง ประเมิน Uterine contraction ทุก 1 ชั่วโมง
ชักนำให้เกิดการคลอด
วิธีการชักนำโดยใช้หัตถการ (Surgical induction of labor)
วิธีการชักนำโดยใช้ยา (Mechanical induction of labor)
วิธีการชักนำโดยใช้เครื่องมือ(Mechanical induction of labor)
วิธีการชักนำการลอดโดยใช้หลายวิธีราวมกัน (Combined induction of labor)
กรณีศึกษา
On 5%DN/2 1,000 ml vein drip 80 cc/hr., NSS 1,000 ml. + syntocinon 10 unit vein drip 6 ml/hr เวลา 13.30 น. syntocinon drip 6 ml/hr เวลา 14.30 น. syntocinon drip 12 ml/hr เวลา 15.30 น. syntocinon drip 18 ml/hr gวลา 16.00 น. syntocinon drip 24 ml/hr
อุบัติการณ์
รกเสื่อมสภาพ (Placental dysfunction)
โดยเฉพาะเมื่ออายุครรภ์มากขึ้นโดยเฉพาะเมื่ออายุครรภ์ 41 สัปดาห์เป็นต้นไป
น้ำคร่ำน้อย (ollgohydramnios)
ผลจากเลือดที่ไปเลี้ยงที่ไตทารกลดลงทำให้การสร้างปัสสาวะจากทารกลดลงและส่งผลต่อการเกิดการกดสายสะดือทารกได้ง่ายขึ้นทั้งก่อนระยะเจ็บครรภ์และในระยะที่เจ็บครรภ์เนื่องจากมีการบีบตัวของมดลูกด้วยโดยที่พบเสียงหัวใจทารกเป็นแบบ variable deceleration หรือ prolonged deceleration ซึ่งเป็นข้อบ่งชี้ที่พบบ่อยเพื่อผ่าตัดคลอดเนื่องจากทารกเครียด(fetal distress)
ขี้เทาปนในน้ำคร่ำ (Meconlum stained amniotic fluid) และการสำลักขี้เทา (Meconlum aspiration syndrome)
จากการที่มีน้ำคร่ำน้อยในครรภ์กับขี้เทาปนทำให้เกิดความเข้มข้นของขี้เทาในน้ำคร่ำสูง (thick meconium stained amniotic fluid) ซึ่งอาจมีผลต่อทำให้เกิดการสำลักขี้เทาในทารกได้
การเจริญเติบโตของทารก(Fetal growth restrriction )
มื่อทารกอยู่ในครรภ์นานก็อาจเกิดการชะงักการเจริญเติบโตได้จากรกเสื่อมสภาพและเพิ่มอัตราตายปริกำเนิด ในบางส่วนทารกที่อยู่ในครรภ์นานอาจเจริญเติบโตขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลให้คลอดยาก คลอดติดขัดได้ เพิ่มหัตถการทางสูติศาสตร์ ซึ่งเพิ่มอันตรายต่อทั้งมารดาและทารก
ปัญหาอื่นๆต่อทารก
ภาวะขาดน้ำ (hypovolemia)
น้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia)
ภาวะเลือดเป็นกรด (metabolic acidosis)
อุณหภูมิกายต่ำ (hypothermia)
ปัญหาอื่นๆต่อมารดา
เพิ่มอัตราการเร่งคลอด
เพิ่มอัตราการผ่าคลอด