Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาว ณัฐมล เขียวสะ 5906510049 (บทที่ 4 (ทฤษฎีการออกแบบการสร้างและการประ…
นางสาว ณัฐมล เขียวสะ 5906510049
บทที่ 4
ทฤษฎีการออกแบบการสร้างและการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
การออกแบบและการสร้างนวัตกรรม
นวัตกรรมหรือ นวกรรม หมายถึง การกระทำใหม่ๆหรือการพัฒนาดัดแปลงจากสิ่งๆใดทำให้้ดีขึ้นมาใช้วนวงการศึกษา เรียกว่า นวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรม หมายถึง การนำสิ่งใหม่เข้ามาเพิ่มเติมให้ดียิ่งขึ้น
ในวงการศึกษานำนวัตกรรมมาใช้ เรียกว่า วงการศึกษา แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการสอน
นวัตกรรมการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ในการนำทฤษฎีมาใช้
เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการสอน ส่งผลต่อการเรียนรู้ผู้เรียน และช่วยแก้ปัญหาผู้เรียนได้
องค์ประกอบของนวัตกรรมการเรียนรู้
วัตถุประสงค์
แนวคิดพื้นฐาน
การประเมินผล
โครงสร้างหรือขั้นตอนการใช้
เป้าหมายของนวัตกรรม
เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น
เพื่อการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้
เพื่อการศึกษาบรรลุเป้าหมายได้ดี
การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม
ศึกษาประเภทของนวัตกรรม
2.ศึกษาวิธีการสร้าง
ศึกษาหลักสูตรการศึกษา
ลงมือสร้าง
5.ทดองใช้กับการเรียนการสอนและปรับปรุง
ประเมินผล
องค์ประกอบในการจัดทำนวัตกรรม
มีความรู้ คุณภาพ ฝีมื สังเคราะห์ได้
2.ตรงตามความเป็นจริงในการแก้ปัญหา
3.ผลที่ได้มีคุณค่า
จัดการนำสู่ผลจริง
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
นวัตกรรมวิธีการ
นวัตกรรมด้านหลักสูตร
นวัตกรรมด้านการวัดและประเมินผล
นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
การนำนวัตกรรมการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์
เพื่อนำนวัตกรรมมาใช้แก้ปัญหาการเรียนการสอน
เพื่อนำมาพัฒนาการสอน
เพื่อใช้ในผลงานวิชาการ
บทที่ 5
การประเมินและปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การนำผลการวัดและประเมินสื่อมาตีความหมาย
การวัดสื่อผลการเรียนการสอน หมายถึงการกำหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์อย่างมีกฏเกณฑ์
ความสำคัญของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพการเรียนการสอน
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพลักษณะและคุณภาพสื่อการเรียนรู้
เกิดการพัฒนาการใช้สื่อมีประสิทธิภาพ
สร้างความมั่นใจและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
ประเมินโดยครูผู้สอน
ประเมินโดยผู้ชำนาญ
ประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ
ประเมินโดยผู้เรียน
การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ
การประเมินโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบความถนัดเพื่อวัดสมรรถนะภาพของผู้เรียน
การสังเกตเฝ้าดูผลการเกิดขึ้นจากสื่อการสอน
แบบสอบถาม
การสัมภาษณ์
บทที่ 6
รูปแบบและกลยุทธิ์การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
ความหมายนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมที่ช่วยให้การศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้รวดเร็ว
กระบวนทัศน์การจัดการศึกษาศตวรรษที่21
เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าความรู้
ครูไม่ใช่ผู้มอบความรู้เพียงอย่างเดียว
ครูเป็นผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้พร้อมไปกับผู้เรียน
เป้าหมายองการเรียนรู้ไม่ใช่ตัวความรู้
แหล่งเรียนรู้ วิธีเรียนรู้สามารถเปิดกว้างได้
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมด้านสื่อการสอน มีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
นวัตกรรมด้านการจัดการเรียนการสอน เปป็นการปรับระบบและคิดค้นวิธีการสอนแบบใหม่
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรเป็นการใช้วิธีการใหม่ในการพัฒนาหลักสูตร
นวัตกรรมด้านการวัดและประเมินผล เป็นนวัตกรรมที่ใช้เครื่องมือในการวัดและประเมินผลได้เป็นอย่างดี
นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ เป็นนวัตกรรมที่เกี่ยวกับการใช้สารสนเทศ
บทที่ 7
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา
ความสำคัญของเครือข่าย
แหล่งการเรียนรู้
จัดตามลักษณะของแหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้ตามธรรมชาติ
แหล่งเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
บุคคล
จัดตามแหล่งที่ตั้งของแหล่งเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้และในโรงเรียน
แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้
สามารถเข้าถึงได้อย่างกว้างขวาง
เป็นการเรียนร่วมกันและทำงานเป็นกลุ่ม
สร้างกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนการสอน
จัดการเรียนการสอนเสมือนชุมชน
แนวทางการบริหารและจัดการและพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นตอนการก่อรูปเครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นตอนการจัดระบบเครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นตอนการใช้เครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นตอนการรักษาเครือข่ายการเรียนรู้
กระบวนการสร้างและวิธีการเรียนรู้
ความตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่าย
การติดต่อกับองค์กรที่ร่วมเครือข่าย
การสร้างพันธกิจร่วมกัน
การพัฒนาความสัมพันธ์ร่วมกัน
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
รูปแบบของการสอน
บทบาทผู้สอน
บทบาทผู้เรียน
บทบาทของการเรียนการสอน
ห้องเรียน
ศุนย์คอมพิวเตอร์
ฐษนบริการข้อมูลการเรียน
ตัวอย่างเครือข่ายการเรียนรู้
เครือข่ายไทยสาร
เครือข่ายยูนิเน็ต
สคูลเน็ต
เครือข่ายนนทรี
เครือข่ายกระจายเสียงวิทยุ