Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวัดคุณลักษณะภายในของบุคคล (ธรรมชาติของการวัดทางจิตวิทยาและการศึกษา (…
การวัดคุณลักษณะภายในของบุคคล
การวัดทางจิตวิทยา (Psychological
measurement)
:check: เป็นการวัดคุณลักษณะทางจิตวิทยาและการศึกษาซึ่งเป็นลักษณะภายในที่ไม่สามารถสังเกตได้โดยตรง เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถ พัฒนาการทางสมอง วุฒิภาวะทาง
สังคม เจตคติ ค่านิยม บุคลิกภาพ เป็นต้น
ธรรมชาติของการวัดทางจิตวิทยาและการศึกษา
:red_flag: เป็นการวัด หรือสังเกต ทางอ้อม (Indirect observation) เช่น ข้อคำถามเป็นสิ่งเร้า และพฤติกรรมคือการตอบสนอง
:red_flag: การวัดหรือสังเกตแต่ละครั้งเป็นการรวบรวมข้อมูลเพียงบางส่วนของพฤติกรรม คือ ใช้เป็นตัวแทน(Representative) ของสิ่งที่ต้องการวัดทั้งหมด
:red_flag: การวัดมีความคลาดเคลื่อน (Error) เกิดขึ้นเสมอ
:red_flag: ผลที่ได้จากการวัดเป็นคุณลักษณะในเชิงสัมพัทธ์ (Relative) ต้องเปรียบเทียบความหมายของค่าตัวเลขกับเกณฑ์อื่น
แนวคิดของการวัดคุณลักษณะภายในของบุคคล
:warning: ผู้วัดจะต้องมีความเข้าใจที่ชัดเจนว่า...?
:pencil2: สิ่งที่มุ่งวัดคืออะไร ? จําเป็นต้องอาศัยแนวคิด/ทฤษฎีเกี่ยวกับคุณลักษณะของสิ่งที่มุ่งวัด เพื่อเชื่อมโยงสู่นิยามเชิงปฏิบัติการณ์หรือพฤติกรรมที่สังเกตได้
:pencil2: ควรวัดสิ่งนั้นอย่างไร ? จะต้องพิจารณาว่า ควรใช้เครื่องมืออะไร รูปแบบคําถามชนิดใด ให้สอดคล้องกับคุณลักษณะที่มุ่งวัด
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ
กําหนดนิยาม และพฤติกรรมชี้วัดของคุณลักษณะที่มุ่งวัด :pen:
ออกแบบการสร้างเครื่องมือ :pen:
:star: เลือกประเภทของเครื่องมือ
:star: กําหนดรูปแบบของคําถาม คําตอบและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ลงมือสร้างเครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพ :pen:
:star: ร่างข้อคําถาม คำชี้แจง และวิธีการตอบ
:star: ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ
:lock: นําร่างเครื่องมือให้ผู้เชี่ยวชาญ (ไม่ควรต่ํากว่า 5 คน) ทําการตรวจสอบความตรงตามจุดประสงค์ของรายการข้อคําถาม (IOC)
:lock: คําถามรายข้อควรมีดัชนีความตรงไม่ต่ํากว่า 0.80 และทําการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
:star: ทดลองใช้และวิเคราะห์คุณภาพ
:lock: นําเครื่องมือไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง (ไม่ควรต่ํากว่า 30 คน) ที่ใกล้เคียงกับกลุ่มบุคคลที่จะใช้จริง
:lock: วิเคราะห์ค่าความเที่ยง (Reliability) ของเครื่องมือด้วยการคํานวณค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s α) ค่าที่ได้ไม่ควรต่ํากว่า 0.60 ควรมีค่าเข้าใกล้ 1.00 หรือ มีค่าตั้งแต่ 0.70 ขึ้นไป
:lock: ควรวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) เพื่อยืนยันความตรงเชิงโครงสร้าง หรือความตรงเชิงทฤษฎี (Construct Validity) ของเครื่องมือ
:lock: ในกรณีที่เครื่องมือมีคุณภาพไม่ถึงเกณฑณ์จะต้องปรับปรุงแก้ไขจนมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่พึงประสงค์
นําเครื่องมือไปใช้จริง :pen:
ตัวอย่างเครื่องมือวัด
http://readgur.com/doc/2045750/%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%8B%E0%B8%B6%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2-2-%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%A1--2-q-
https://www.scribd.com/document/50424550/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94