Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีและฟิสิกส์ต่อคุณภาพไข่ระหว่างการประกอบอาหาร (3)…
การเปลี่ยนแปลงทางเคมีและฟิสิกส์ต่อคุณภาพไข่ระหว่างการประกอบอาหาร (3)
การตกลิ่มและจับตัวเป็นก้อน
ให้ความร้อนสูง
รีดน้ำออกจากภายในที่อุ้มไว้
แยกน้ำและโปรตีนออก
ได้รับความร้อนแข็งตัวมากขึ้น
อุ้มน้ำไว้ในตาข่ายของโปรตีน
อาหารข้นหนืด
เกลียวโปรตีนเกิดการคลายตัว
เกิด hydrogen bond, hydrophobic bond, sulfide bond ระหว่างโมเลกุล
65 องศาเซลเซียส ไข่แดงเริ่มข้นขึ้น
70 องศาเซลเซียส ไข่แดงแข็งตัว
Hints
Temp.สูง+เร็วเกินไป ตกลิ่มเร็ว ไม่สวยงาม
ไข่เจือจาง ใช้Temp.สูงขึ้นในการตกลิ่ม
Temp.85องศาเซลเซียส ทำให้ไข่สุก+อ่อนนุ่มและแน่น
ตู้อบไข่ Temp.300-350องศาเซลเซียส(149-176องศาเซลเซียส)+น้ำใส่ถาดป้องกันไข่สุกเกิน
ไข่แดงตกลิ่มช้ากว่าไข่ขาว
ปัจจัยที่มีผล
Temp.
ไข่ขาวตกลิ่ม 57 องศาเซลเซียส
สารปรุงแต่ง
น้ำตาล
จุดตกลิ่มสูงขึ้น
ป้องกันไม่ให้โปรตีนในไข่ขาวเปลี่ยนแปลง
เกลือ(เล็กน้อย)
ไข่แข็งตัวเร็วขึ้น
กรดเล็กน้อย(เติมน้ำผลไม้)
ไข่ขาวแข็งตัวเร็วขึ้น
แน่นและเนียน
ดูดีกว่าไม่เป็นกรดเลย
กรดมากไป
ไข่จับตัวเป็นก้อน
สารเคมี
ตกลิ่มไข่ได้ดี
การคนหรือกวน
โปรตีนไม่จับตัวเป็นก้อน
ทำให้ข้นได้ดีขึ้น
การเกิดเจล
วุ้น สีขาวขุ่น
โปรตีนเกิดการกระจายตัวยึดกับโมเลกุลของน้ำเป็นเนื้อเดียวกัน
ไข่ขาวเป็นเจลที่Temp.60 องศาเซลเซียส
ไข่แดงเป็นเจลที่Temp.65 องศาเซลเซียส
การทำให้เสื่อมสภาพ
การตีไข่ขาวขึ้นฟู
โปรตีนเกิดการเสียสภาพ
ละลายน้ำลดลง
ย่อยง่ายขึ้น
การเกิดฟองฟู
เกิดฟองขนาดใหญ่ปนในไข่ขาว เพิ่มเวลาการตี ฟองแข็งแรง คว่ำชามไม่ไหล
ความเหลวข้นทำให้ไข่ขาวจับฟองอากาศไว้ได้
Ovomucin:เกิดฟองคงทน แผ่เป็นฟิล์มหุ้มฟองอากาศ denatureระหว่างตีฟองยิ่งคงทน
Ovoglobulin:ให้ความข้นหนืด ฟองเนื้อเนียน
Ovalbumin:โครงสร้างฟองคงรูป
ปัจจัยที่มีผล
ตีไข่นานไป
ฟิล์มไม่แข็งแรง
ยึดฟองอากาศได้ไม่ดี
อุ้มอากาศไม่ได้
ตีไข่น้อยไป
ฟองขนาดใหญ่ปนในไข่ขาว
เหลว ไหลได้
โปร่งใส
เติมน้ำในไข่ขาว40%
เพิ่มปริมาตรของฟอง40%
ฟองค่อนข้างหยาบ
คงตัวเหมือนไม่ผสมน้ำ
เติมน้ำในไข่ขาว60-80%
ฟองไข่ขาวคืนตัวเป็นน้ำ
ยิ่งตีมาก ฟองคืนตัวเร็ว
เติมไข่แดง
ไข่ขาวฟูลดลง
ลดปริมาตร
ตีไข่แดง
ฟูเล็กน้อย ไม่ตั้งยอด
ไข่แดงข้นขึ้น สีจางลง
เกลือเล็กน้อย
ฟองมากขึ้น
ตั้งยอดดีขึ้น
เกลือมากไป
ทำลายอิมัลชั่นระหว่างของเหลวกับฟองอากาศ
น้ำตาล
ฟองอากาศแข็งตัวมากขึ้น
ตั้งยอดได้สูงกว่า
เติมหลังตีไข่ขาว 5-10 นาที
ปริมาณกรด
เกิดการรวมตัวและจับเป็นก้อน
ลดแรงตึงผิวของไข่ขาว
ฟองอยู่ตัวได้ดี
pH8 ครีมออฟทาร์ทาร์,กรดอะซิติก,กรดซิตริกขึ้นฟูเท่ากัน
pH6 ครีมออฟทาร์ทาร์อยู่ตัวมากสุด กรดอะซิติกอยู่ตัวน้อยสุด
Temp.
Temp.ต่ำเกิดฟองช้ากว่าTemp.สูง
ลักษณะไข่ขาว
ไข่ขาวเหลวเกิดฟองมากกว่า แต่ช้ากว่าไข่ขาวข้น +ยุบตัวเร็ว
การละลายน้ำ
ละลายได้ดี
ไข่ขาวละลายได้ดี:Ovomucin มาก
จุดเยือกแข็ง -15 ถึง -20 องศาเซลเซียส
เติมน้ำในไข่ขาว จุดเยือกแข็งสูง
ไข่แดงมีไขมัน+phosphoprotein ละลายน้ำได้น้อย
การเป็นตัวเชื่อม:emulsifier
น้ำสลัด
ไข่แดงเป็น emulsifying agent ทำให้เกิด emulsion
emulsifying agent:เลซิติน คอเลสเตอรอล ไลโปโปรตีน โปรตีนในไข่แดง
การเกิดสี
สีเหลือง
สีส้มแดงจากไข่แดง
เกิดเจลใสในสภาวะด่าง
pH 11-12
ไข่ขาวเปลี่ยนสภาพเป็นเจลใส
ไข่เยี่ยวม้า
ส่วนผสมของอาหารยึดติดกัน
โปรตีนจากไข่ช่วยยึดเครื่องปรุงเข้าด้วยกัน
กำจัดความขุ่น
โปรตีนจากไข่ช่วยยึดจับวานแขวนตะกอนเมื่อเกิด coagulation
โครงสร้างอาหารขยายตัว
เป็นโครงสร้างให้อาหาร
เกิดแรงดัน ยืดตัวตาม+เกิดการแข็งตัวไม่ยุบลง
มีโพรงข้างใน