Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Postterm pregnancy) (สาเหตุ (2) ทารกที่มีความพิการ…
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
(Postterm pregnancy)
ผลกระทบ
ผลต่อมารดา
2) มีการชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดเพิ่มขึ้น ต้องมีการ c/s เพิ่มขึ้น เพิ่มปัจจัยเสี่ยงจากการติดเชื้อ ตกเลือดหลัผ่าตัดคลอด
3) หญิงตั้งครรภ์มีความวิตกกังวลและเครียดเพิ่มขึ้น Catecholamines เพิ่มขึ้น ทำให้การคลอดยาวนานเพิ่มขึ้น
1) เกิดภาวะคลอดยาก (ร้อยละ 9 - 12) เกิดการบาดเจ็บจากการคลอดเพิ่มขึ้น เช่น ช่องคลอดฉีกขาด และตกเลือดหลังคลอด เป็นต้น
ผลต่อทารก
1) การเสียชีวิตและพิการทางสมอง
2) การบาดเจ็บจากการคลอด จากทารกส่วนใหญ่มีน้ำหนัก > 4,000 gms (Macrosomia)
ภาวะแทรกซ้อนระยะสั้น เช่น น้ำตาลในเลือดต่ำ และชัก
คลอดล่าช้า
ขนาดศีรษะผิดสัดส่วนกับช่องเชิงกราน
ภาวะคลอดติดไหล่ บาดเจ็บต่อเส้นประสาท
3) รกเสื่อมสภาพ (ร้อยละ 20 - 45) ส่งผลให้การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์หยุดชะงัก
4) Fetal distress จากภาวะน้ำคร่ำน้อย สายสะดือถูกกด (Cord compression)
5) เม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ (Polycythemia)
6) ทารกสำลักน้ำคร่ำและเสียชีวิตจากการสำลักขี้เทาได้
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ 42 สัปดาห์เต็ม (294 วัน) หรือมากกว่า โดยเริ่มนับจากวันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้าย
สาเหตุ
2) ทารกที่มีความพิการ เช่น ต่อมหมวกไตฝ่อ ทารกสมองเล็ก ตั้งครรภ์ในช่องท้อง สภาพทารกผิดปกติ
3) หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 25 ปี หรือมากว่า 35 ปี
1) ทารกหรือ amnion ที่ไม่สามารถกระตุ้นให้หลั่ง Prostaglandin จึงไม่มีอาการเจ็บครรภ์
4) Placental aging เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และ Collagen vascular disease
6) เคยผ่านการคลอดมากกว่า 4 ครั้ง
5) หญิงตั้งครรภ์วิตกกังวลสูง
9) ประจำเดือนไม่สม่ำเสมอและจำ LMP ได้ไม่แน่นอน
7) ไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจากการคลาดเคลื่อนของการคิดอายุครรภ์
8) สตรีมีครรภ์ฝากครรภ์ช้า
10) รับประทานยาคุมกำเนิดถึง LMP
11) เลือดออกไตรมาสแรก หรือแท้งคุกคาม
12) เคยได้รับยายับยั้งการคลอด
ปัจจัยเสี่ยง
1) ปัจจัยด้านมารดา: พบได้ในการตั้งครรภ์แรก/มารดาครรภ์หลังที่เคยมีประวัติตั้งครรภ์เกินกำหนดในครรภ์ก่อน
2) ปัจจัยด้านทารก: พบในทารกที่มีความพิการแต่กำเนิด เช่น Adrenal hypoplasia fetal anencephalophaty
3) ปัจจัยด้านรก: เช่น รกขาดเอนไซม์ Sulfatase pkacental sulfatase deficiency ซึ่งถ่ายทอดทางพันธุกรรฒแบบ X - linked มีผลให้ Hormone Estrogen ต่ำกว่าปกติ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
การวินิจฉัย
การตรวจภ่ยในเพื่อประเมินขนาดของมดลูก ในไตรมาสแรก
การตรวจอัลตร้าซาว
การเปรียบเทียบอายุครรภ์จากขนาดมดลูกโดยตรวจด้วยวิธี Leopoldmaneuver โดยขนาดของมดลูกจะสัมพันธ์กับอายุครรภ์
การคำนวณอายุครรภ์โดยนับจากประจำเดือนวันแรกของเดือนสุดท้าย
ประเมินทารกในครรภ์ ในอายุครรภ์ 40 สัปดาห์ขึ้นไป
การตรวจ NST
การตรวจอBiophysical profiles ประกอบด้วย Fetal movement ,Fetal breathing, AFI และ NST
การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อวัดค่า AFI รวมถึงวัดค่าความลึกที่มากที่สุดของน้ำคร่ำ