Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การประเมินและ การปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ…
บทที่ 5
การประเมินและ
การปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินสื่อเป็นการพิจารณาประสิทธิภาพและคุณภาพของสื่อการเรียนการสอนซึ่งถ้าจะให้ได้ผลดีนั้นควรจะมีการประเมินสื่อนั้นเมื่อมีการใช้สื่อเป็นครั้งแรกเพื่อการปรับปรุงการใช้สื่อในครั้งต่อไป
ความสำคัญของการประเมินผล
สื่อการเรียนรู้
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนการสอน
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพของสื่อการเรียนรู้
เกิดการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
สร้างความมั่นใจและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
1.การประเมินโดยผู้สอน
ผู้สอนควรเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในการสอน เคยได้รับการฝึกอบรอจนมีความ
รู้ความชำนาญเกี่ยวกับการผลิตและการใช้สื่อและมีประสบการณ์ในการใช้สื่อ
2.การประเมินโดยผู้ชำนาญ
ผู้ชำนาญด้านสื่อการเรียนการสอนและจะต้องมีประสบการณ์ด้านการประเมินด้วย ผู้ชำนาญอาจเป็นผู้สอน เป็นอาจารย์ใน
มหาวิทยาลัยที่สอนในสาขาวิชาสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา
การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ
ซึ่งลักษณะของกรรมการชุดนี้จะประเมินคุณลักษณะ
ประสิทธิภาพการใช้และคุณลักษณะด้านอื่นๆของสื่อการเรียนการสอนด้วย
การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ
ซึ่งการประเมินประสิทธิภาพของสื่อนั้นสื่อที่จะต้องได้รับการประเมินประสิทธิภาพส่วนใหญ่จะเป็นสื่อที่ผลิตขึ้นตามหลักการของการสอนแบบโปรแกรม
การประเมินผลโดยผู้เรียน
ผู้เรียนเป็นเป้าหมายสำคัญของการใช้สื่อการเรียนการสอนสามารถพิจารณาถึงคุณลักษณะ คุณภาพ และคุณค่า
ของสื่อการเรียนรู้ได้อย่างสมเหตุสมผล
การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
เป็นการหา
ประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนเพื่อหาความเที่ยงตรงและนับว่าเป็นการ
พิสูจน์คุณภาพและคุณค่าของสื่อการเรียนรู้นั้น
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
1.แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จะเป็นเครื่องมือวัดความรู้ของผู้เรียน
ภายหลังการเรียนจากสื่อ
2.แบบทดสอบความถนัดเพื่อวัดสมรรถนะของผู้เรียน
ภายหลังที่เรียนจากสื่อ
แบบสอบถาม
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจซึ่งเครื่องมือนี้จะประกอบด้วย
ข้อความหรือคำถามต่างๆเกี่ยวกับสื่อหรืออาจจะมีช่องว่างให้เติมข้อความด้วยก็ได้
การสังเกตเป็นการเฝ้าดูผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สื่อการสอน
ตั้งแต่เริ่มต้นจน
จบกระบวนการใช้