Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญานิรันตรนิยม (Perennialism) (หลักการสำคัญ (วิชาหลักที่ควรศึกษา …
ปรัชญานิรันตรนิยม
(Perennialism)
องค์ประกอบของการศึกษา
หลักสูตร
ศิลปะทางภาษา
(Liberacy arts)
การเขียน
การใช้เหตุผล
การพูด
การฟัง
การอ่าน
ศิลปะการคำนวณ
(Mathematical arts)
ปรัชญา
ดาราศาสตร์
วิทย์
ดนตรี
คณิต
ครู
รักษาวินัยทางจิตใจ
เป็นผู้นำทางวิญญาณของนักเรียนทุกคน
เป็นผู้ใฝ่รู้อยู่เสมอ มีความคิดยาวไกล
เข้าใจเนื้อหาวิชาที่สอนอย่างถูกต้องชัดเจน
รักษาระเบียบวินัย ควบคุมความประพฤติของผู้เรียน
เป็นแบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติที่ดี
ผู้เรียน
มีเหตุผล มีสติ
มีศักยภาพในตัวเองที่สามารถพัฒนาไปสู่ความมีเหตุผล
ผู้เรียนมีความสนใจใคร่เรียนรู้อยู่แล้ว
พัฒนาสิ่งที่ผู้เรียนมีอยู่อย่างเต็มที่ โดยมุ่งพัฒนาเป็นรายบุคคล
ฝึกฝนคุณสมบัติที่มีอยู่โดยการสอนและการแนะนำของครู
ผู้เรียนทุกคนมีโอกาสเรียนเท่าเทียมกันหมด ใช้หลักสูตรเดียวกัน
ทั้งเด็กเก่งและเด็กอ่อน
ถ้าเด็กอ่อนเข้าใจช้าก็ต้องฝึกฝนบ่อยๆ หรือทำซ้ำๆเพื่อไปให้ถึงมาตรฐานเดียวกันกับเด็กเก่ง
โรงเรียน
ไม่มีบทบาทต่อสังคมโดยตรง เพราะเน้นที่ตัวบุคคลเป็นหลักใหญ่ (คนพัฒนา สังคมก็พัฒนาตามไปด้วย)
เป็นเสมือนตัวกลางในการเตรียมผู้เรียนให้เกิดความก้าวหน้า ที่ดีงามที่สุดของวัฒนธรรมที่มีมาแต่อดีต
สร้างบรรยากาศและจัดสภาพแวดล้อมให้มีลักษณะ
สร้างความนิยมในวัฒนธรรมที่มีอยู่
เคร่งครัดในระเบียบวินัยโดยเน้นการประพฤติปฏิบัติ
กระบวนการเรียนการสอน
ฝึกให้ใช้ความคิดหาเหตุผล
อาศัยหลักวิชาที่เรียนรู้ไว้แล้ว
เป็นแนวทางพื้นฐานแห่งความคิด
เน้นด้านพุทธิศึกษา
ท่องจำ
ผู้เรียนมีความพร้อมทางจิตใจจึงจะสามารถจดจำสิ่งต่าง ๆ ได้
มีการอภิปรายถกเถียง ใช้เหตุผล และสติปัญญาโต้แย้งกัน
ครูเป็นผู้นำในการอภิปราย ตั้งประเด็นและยั่วยุให้มีการอภิปรายถกเถียงกัน ผู้เรียนจะได้พัฒนาสติปัญญาของตนได้อย่างเต็มที่
ผู้สร้างแนวคิด
เพลโต + อริสโตเติล
(Plato + Aristotle)
ปรัชญากลุ่มจิตนิยมเชิงเหตุผล
บาทหลวงโธมัส อไควนัส
(St. Thomas Aquinas)
นำมาประยุกต์ใช้
ปรัชญากลุ่มวัถตุนิยมเชิงเหตุผล
หลักการสำคัญ
หน้าที่ประการสำคัญของนักการศึกษา คือ แสวงหาวิชาความรู้ในเรื่องความจริงอันเป็นนิรันดร์
การศึกษาไม่ใช่เป็นการเอาอย่างชีวิต หากเป็นการเตรียมตัวเพื่อชีวิต
โรงเรียนเป็นดั่งชีวิตไม่ได้ เป็นเพียงโลกไว้ฝึกใช้ชีวิต
สิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับมนุษย์คือสติปัญญา
ควรให้การศึกษา เพื่อใช้ปัญญาควบคุมสัญชาตญาณคตามธรรมชาติ อันเป็นอำนาจฝ่ายต่ำ
ครูควรสั่งสอนศิษย์ให้ไปในทางที่ถูกที่ควร
เยาวชนควรเรียนรู้วิชาพื้นฐานบางประการ (อ่าน เขียน คำนวณ)
เพื่อจะได้รู้ถึงสิ่งซึ่งจริงแท้และถาวรที่สุดในโลก
วิชาหลักที่ควรศึกษา
เพราะเป็นเครื่องแสดงให้เห็นว่ามนุษย์ที่มี
สติปัญญาเป็นเลิศที่ได้คิดค้นอะไรไว้
ให้เป็นมรดกตกทอดมาถึงเรา
งานนิพนธ์ที่สำคัญๆทางวรรณคดี
ประวัติศาสตร์
ปรัชญา
สภาพแวดล้อมแตกต่างแต่ธรรมชาติของมนุษย์ ย่อมเหมือนกันทุกแห่งหน
การศึกษาให้แก่มนุษย์ควร
เป็นแบบเดียวกันหมดทุกคน
พื้นฐานความเชื่อ
เหตุผล
เหตุผลเป็นลักษณะสูงสุดของมนุษย์
มนุษย์อยู่ในโลกของเหตผล
นักปรัชญาการศึกษา
Robert Maynard Hutchins
(ผู้นำกลุ่มนิรันตรนิยม)
Sir Richard Living Stone
(นักวิชาการศึกษา)
แนวคิดของการนำมาสร้างปรัชญาการศึกษา
ความสามารถในการคิดนั้นติดตัวมนุษย์มาแต่กำเนิด
ความรู้มาจากการคิดหาเหตุผล
มนุษย์สามารถที่จะใช้ความคิดและเหตุผลตลอดเวลาที่มีชีวิต
ความดีงามขึ้นอยู่กับความมีวินัยในตนเองและยึดมั่นในความดี
:red_flag:
จุดมุ่งหมายการศึกษา
สร้างคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์
มนุษย์มีพลังธรรมชาติอยู่ในตัว พลังในที่นี้คือสติปัญญา
จะต้องพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ให้เต็มที่
เมื่อมนุษย์ได้พัฒนาสติปัญญาอย่างดีแล้วก็จะทำอะไรอย่างมีเหตุมีผล
พัฒนาคุณสมบัติเชิงสติปัญญาและเหตุผลในตัวมนุษย์
เพื่อให้มนุษย์ดำรงความเป็นคนดีตลอดไปไม่เปลี่ยนแปลง
แต่ไม่เน้นการเปลี่ยนแปลงของสังคม
: