Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวซัลวานีย์ อาแซ รหัส 5906510112 (การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม…
นางสาวซัลวานีย์ อาแซ รหัส 5906510112
บทที่ 4 ทฤษฎีการออกแบบ การสร้างและการประยุกต์ใช้นวัตกรรและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
การออกแบบและการสร้างนวัตกรร
เมื่อนำสองคำนี้มารวมกัน เป็น นวกรรม หรือ นวัตกรรม จึงหมายถึง การกระทำ
ใหม่ๆ หรือการพัฒนาดัดแปลงจากสิ่งใดๆ แล้วทำให้ดีขึ้น
การออกแบบ และการสร้างนวัตกรรม
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง สิ่งใหม่ที่นำมาใช้ในการจัดการศึกษา
2.นวัตกรรมการเรียนการสอน หมายถึง สิ่งใหม่ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
3.นวัตกรรมการเรียนรู้ หมายถึง สิ่งใหม่ที่นำมาใช้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
1.นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
2.นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน
3.นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
4.นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
5.นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
วัตถุประสงค์ ในการนำนวัตกรรมมาใช้
เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพของการสอน ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้
เรียน แต่บางครั้งมีการนำนวัตกรรมมาใช้ เพื่อแก้ปัญหาของผู้เรียน
องค์ประกอบของนวัตกรรมการเรียนรู้
1วัตถุประสงค์
2.แนวคิดพื้นฐาน
3.โครงสร้างหรือขั้นตอนการใช้
4.การประเมินผล
เป้าหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา
เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น
เพื่อทำให้การเรียนรู้บรรลุเป้าหมายทางการศึกษาที่วางไว้
เพื่อให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพบรรลุเป้าหมายได้ดีขึ้น
การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม
ศึกษาประเภทของนวัตกรรม
ศึกษาวิธีการสร้าง
ศึกษาหลักสูตรการศึกษา
ลงมือสร้าง
ทดลองใช้ในการจัดการเรียนการสอน และปรับปรุง
ประเมินผล
องค์ประกอบในการจัดทำนวัตกรรม
1.มีความรู้ รู้จุดเด่น ต้นทุน คุณภาพ ฝีมือเดิม และสังเคราะห์ได้
2.ตรงตามความความจำเป็นในการแก้ปัญหา
3.ผลที่ได้มีคุณค่า
4.จัดการนำสู่ผลได้จริง
การออกแบบ และการสร้างนวัตกรรม
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษาหมายถึง
การกระทำใหม่ การสร้างใหม่หรือการพัฒนาดัดแปลงจากสิ่งใดๆทำให้การศึกษาหรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม
1.การยกร่างนวัตกรรมขึ้นมาใหม่
2การนำนวัตกรรมไปใช้
3.การประเมินผลการใช้นวัตกรรม
นางสาวซัลวานีย์ อาแซ รหัส 5906510112
บทที่7แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา
หมายถึง “แหล่ง” หรือ “ที่รวม” ซึ่งอาจเป็นสภาพสถานที่ หรือศูนย์รวมที่ประกอบด้วยข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และ
กิจกรรมที่มีกระบวนการเรียนรู้หรือกระบวนการเรียนการสอน
ระบบการศึกษาในปัจจุบันนับเป็นการเรียนรู้แบบตลอดชีวิตมี
เนื้อหาสาระที่ต้องเรียนรู้เป็นจำนวนมากตลอดเวลา โดยมี การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของมนุษย์ให้เข้าสู่ระบบการสร้างบุคลากรให้คิดเป็น ทำเป็น และ เรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง ”
เ
ครือข่าย (Network)
เป็นแนวคิดและกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับ
การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกลุ่มบุคคล องค์กร ตลอด
จนชุมชนให้เกื้อกูลเชื่อมโยงกันโดยที่แต่ละฝ่ายต้องมีความเท่าเทียมกัน มีอิสระต่อกันสามารถยืนหยัดอยู่ได้ด้วยตนเอง
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้
1สามารถเข้าถึงได้กว้างขวาง 2..เป็นการเรียนแบบร่วมกันและทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม3.สร้างกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้กระทำมากกว่าเป็นผู้ถูกกระทำ 4ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน 5..จัดให้เครือข่ายการเรียนรู้เป็นเสมือนชุมชนของการเรียนรู้แบบออนใลน์
แนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้
1.ขั้นการก่อรูปเครือข่ายการเรียนรู้ 2.ขั้นการจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้ 3.ขั้นการใช้เครือข่ายการเรียนรู้ 4.ขั้นการธำรงรักษาเครือข่ายการเรียนรู้
การก่อเกิดของเครือข่ายอาจพิจารณาได้ 2 ทาง คือ
1.เครือข่ายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ 2.เครือข่ายโดยการจัดตั้งขึ้น
เครือข่ายการเรียนรู้
หมายถึง การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด
ข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์และการเรียนรู้ระหว่างบุคคล กลุ่ม
บุคคล องค์การ
ความสำคัญของเครือข่ายการเรียนรู้
ปัจจุบันมีการสร้างระบบเครือข่ายการเรียนรู้กันมากขึ้น เพื่อ
เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดระบบการเรียนการสอน รูปแบบ
ใหม่ในสถาบันการศึกษาเช่น เครือข่ายภายในโรงเรียน หรือ
ภายในสถาบันอุดมศึกษา
แหล่งการเรียนรู้
หมายถึงแหล่งข่าวสารข้อมูลสารสนเทศ และประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่เรียน
ใฝ่รู้แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเอง
แหล่งการเรียนรู้สามารถแบ่งได้ประเภทของแหล่งการเรียนรู้ไว้ 2แบบ
1.จัดตามลักษณะของแหล่งการเรียนรู้ 2.จัดตามแหล่งที่ตั้งของแหล่งการเรียนรู้
นางสาวซัลวานีย์ อาแซ รหัส5906510112
บทที่ 5 กาประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรม
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
1.การประเมินโดยผู้สอน 2.การประเมินโดยผู้ชำนาญ3.การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ4.การประเมินผลโดยผู้เรียน5.การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ 6การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน.
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
1.แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจะเป็นเครื่องมือวัดความรู้ของผู้เรียน
ภายหลังการเรียนจากสื่อ
2.แบบทดสอบความถนัดเพื่อวัดสมรรถนะของผู้เรียนภายหลังที่เรียนจากสื่อ
3.แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจซึ่งเครื่องมือนี้
4.การสังเกตเป็นการเฝ้าดูผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สื่อการสอนตั้งแต่เริ่มต้นจน
5.การสัมภาษณ์เป็นการซักถามและพูดคุยกับทั้งผู้ผลิต
การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
เป้นขั้นตนที่สำคัญมากอีกขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนการประเมินสื่อกาาเรียนการสอนมักจะควบคู่ไปกับวิธีการประเมินไปด้วย
ความหมายของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
หมายถึง การนำเอาผลการวัดและประเมินสื่อ
การเรียนการสอนมาตีความหมายและ ตัดสินคุณค่าเพื่อที่จะรู้ว่าสื่อนั้นทำหน้าที่ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้แค่ไหน
มีคุณภาพดีหรือไม่เพียงใดมีลักษณะถูกต้องตามที่ต้องการหรือไม่ประการใด
ความสำคัญของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
1.ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนการสอน2.ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ 3.เกิดการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 4.สร้างความมั่นใจและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนรู้
นางสาวซัลวานีย์ อาแซ รหัส 5906510112
บทที่6 รูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา
หมายถึงนวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษาและการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
กระบวนทัศน์การจัดการศึกษาศตวรรษที่ 21
1.เน้นที่กระบวนการเรียนรู้มากกว่าความรู้2.ครูไม่ใช่ผู้ที่มอบความรู้เพียงอย่างเดียว3.ครูเป็นผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้พร้อมกับผู้เรียน4.เป้าหมายของการเรียนรู้ไม่ใช่ที่ตัวความรู้5.แหล่งเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ สามารถเปิดกว้างได้อย่างไร้ขีดจำกัด
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
1.
นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่าย
และเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการสอนใหม่ๆ
2.
นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน
เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆที่สามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคลการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
3.นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรเป็นการใช้วิธีการใหม่ๆในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น
4.นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
เป็นนวัตกรรมที่ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวัดผลและประเมินผล ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำได้อย่างรวดเร็วรวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษาการวิจัยสถาบัน
5.นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารการจัดการเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก