Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวกานต์สินี บุญระนอม 5906510092❤🌹 (บทที่ 7🎉✨ (ความเปลี่ยนแปลงที่เกิด…
นางสาวกานต์สินี บุญระนอม 5906510092❤🌹
บทที่ 4😍
การออกแบบ และการสร้างนวัตกรรม
นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมาย
ถึง สิ่งใหม่ที่นำมาใช้ในการจัดการศึกษา
นวัตกรรมการเรียนการสอน (Instructional Innovation) หมายถึง สิ่งใหม่ที่
นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
นวัตกรรมการเรียนรู้ (Learning Innovation) หมายถึง สิ่งใหม่ที่นำมาใช้ให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
วัตถุประสงค์ ในการนำนวัตกรรมมาใช้
เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพของการสอน ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้
เรียน แต่บางครั้งมีการนำนวัตกรรมมาใช้ เพื่อแก้ปัญหาของผู้เรียน
เป้าหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา
เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น
เพื่อทำให้การเรียนรู้บรรลุเป้าหมายทางการศึกษาที่วางไว้
เพื่อให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพบรรลุเป้าหมายได้ดี
ขึ้น
การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม
ศึกษาประเภทของนวัตกรรม
ศึกษาวิธีการสร้าง
ศึกษาหลักสูตรการศึกษา
ลงมือสร้าง
ทดลองใช้ในการจัดการเรียนการสอน และปรับปรุง
ประเมินผล
องค์ประกอบในการจัดทำนวัตกรรม
มีความรู้ รู้จุดเด่น ต้นทุน คุณภาพ ฝีมือเดิม และสังเคราะห์ได้
ตรงตามความความจำเป็นในการแก้ปัญหา
ผลที่ได้มีคุณค่า
จัดการนำสู่ผลได้จริง
การสร้างนวัตกรรม
ปัญหาที่แท้จริงคืออะไร และจะแก้อย่างไร ประเด็นนี้มีความสำคัญ
มาก
นำปัญหาที่พบมาวาดเป็นภาพ โดยลงข้อมูลที่สำคัญ ๆ ก่อนไปที่ละ
ภาพ
นำภาพที่ได้มาวิเคราะห์ หาสาเหตุว่าเป็นเพราะอะไรและจะแก้ไขได้
อย่างไร
การนำนวัตกรรมการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์
เพื่อนำนวัตกรรมมาใช้แก้ปัญหาในเรื่องการเรียนการสอน
เพื่อนำนวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน
การนำนวัตกรรมไปใช้เป็นผลงานทางวิชาการ
บทที่ 5😉🍟
การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของการประเมินผลสื่อ
การเรียนรู้
การนำเอาผลการวัดและประเมินสื่อ
การเรียนการสอนมาตีความหมาย และตัดสอนคุณค่า
ความสำคัญของการประเมินผล
สื่อการเรียนรู้
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนการสอน
ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพของสื่อการเรียนรู้
เกิดการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
สร้างความมั่นใจและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินโดยผู้สอน
การประเมินโดยผู้ชำนาญ
การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ
การประเมินผลโดยผู้เรียน
การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ
การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
จะเป็นเครื่องมือวัดความรู้ของผู้เรียน
ภายหลังการเรียนจากสื่อ
แบบทดสอบความถนัดเพื่อวัดสมรรถนะของผู้เรียนภายหลังที่เรียนจาก
แบบสอบถาม
ข้อความหรือคำถามต่างๆเกี่ยวกับสื่อหรืออาจจะมีช่องว่างให้เติมข้อความด้วยก็ได้
การสังเกตเป็นการเฝ้าดูผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สื่อการสอนตั้งแต่เริ่มต้นจน
การสัมภาษณ์เป็นการซักถามและพูดคุยกับทั้งผู้ผลิตผู้ใช้และผู้เรียน
บทที่ 6🎈🎈
รูปแบบและกลยุทธ์การพัฒนานวัตกรรมทางการ
ศึกษา
“นวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมที่จะ
ช่วยให้การศึกษาและการเรียนการสอน
มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
Education 1.0
ผู้เรียนเป็นผู้รับความรู้จากผู้สอน
เพียงอย่างเดียว
Education 2.0
ผู้เรียนเป็น ผู้สื่อสาร เชื่อมโยง ร่วมมือ และร่วม
สร้างสรรค์
Education 3.0
ผู้เรียนเป็น ผู้เชื่อมโยง ผู้สร้างสรรค์ และ
สร้างองค์ความรู้
Education 4.0
ผู้เรียนเป็น ผู้สร้างนวัตกรรม และ การ
ศึกษาที่สร้างผลผลิต
กระบวนทัศน์การจัดการศึกษาศตว
วรรษที่ ๒๑
เน้นที่กระบวนการเรียนรู้มากกว่าความรู้
ครูไม่ใช่ผู้ที่มอบความรู้เพียงอย่างเดียว
ครูเป็นผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้พร้อมกับผู้เรียน
เป้าหมายของการเรียนรู้ไม่ใช่ที่ตัวความรู้
แหล่งเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ สามารถเปิดกว้างได้อย่างไร้ขีดจำกัด
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
บทที่ 7🎉✨
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
ทางการศึกษา
เครือข่ายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
ซึ่งดูได้จากความเป็นเครือญาติกัน
การมีภูมิลำเนาถิ่นกำเนิดเดียวกัน การมีความเชื่อถือศรัทธาเหมือนกัน
การมีปัญหาร่วมกัน และการมีความสนใจร่วมกันในงานหรือกิจกรรม
เครือข่ายโดยการจัดตั้งขึ้น
จะต้องมีผู้คอยกระตุ้นปลุกจิตสำนึกให้เกิด
ความคิดตระหนักถึงปัญหาของชุมชนร่วมกันและก่อให้เกิดการจัดตั้ง กลุ่มองค์กรขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งมักจะเป็น
เครือข่ายในระบบราชการ
แหล่งการเรียนรู้
แหล่งข่าวสารข้อมูล
สารสนเทศ และประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่เรียน
ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเอง
จัดตามลักษณะของแหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ตาม
ธรรมชาติ
แหล่งการเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
บุคคล
จัดตามแหล่งที่ตั้งของแหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน
แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้
สามารถเข้าถึงได้กว้างขวาง ง่าย สะดวก นักเรียนสามารถเรียก
ข้อมูลมาใช้ได้ง่าย
เป็นการเรียนแบบร่วมกันและทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม คุณลักษณะ
พื้นฐานของเครือข่ายการเรียนรู้
สร้างกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้กระทำมากกว่า
เป็นผู้ถูกกระทำ
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน และเน้นบทบาทที่
เปลี่ยนแปลงไป
จัดให้เครือข่ายการเรียนรู้เป็นเสมือนชุมชนของการเรียนรู้แบบออนไลน์
แนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาเครือ
ข่ายการเรียนรู้
ขั้นการก่อรูปเครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นการจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นการใช้เครือข่ายการเรียนรู้
ขั้นการธำรงรักษาเครือข่ายการเรียนรู้
กระบวนการและวิธีการสร้างเครือข่ายการ
เรียนรู้
การตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายเป็นขั้นตอนที่ผู้ปฏิบัติ
งานหรือฝ่ายจัดการตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายเพื่อที่จะทำงานให้บรรลุเป้าหมายรวมทั้งพิจารณาถึงองค์กรต่างๆ
การติดต่อกับองค์กรที่จะร่วมเป็นเครือข่ายหลังจากตัดสินใจเกี่ยวกับ
องค์กรที่เห็นว่าเหมาะสมในการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายแล้ว
การสร้างพันธกรณีร่วมกัน เป็นข้นตอนการสร้างความผูกพันร่วมกัน การ
ตกลงใจในความสัมพันธ์ต่อกันและตกลงที่จะทำงานร่วมกันเป็นเครือข่าย
การพัฒนาความสัมพันธ์ร่วมกัน เป็นขั้นตอนที่สร้างเครือข่ายให้เกิดผล
งานเป็นรูปธรรมโดยเริ่มทำกิจกรรมที่ใช้ทรัพยากรร่วมกัน
การทำกิจกรรมร่วมกัน เป็นขั้นตอนที่เกิดขึ้นหลังจากมีการพัฒนาความ
สัมพันธ์ร่วมกัน
การรวมตัวกันจัดตั้งองค์กรใหม่ร่วมกัน เพื่อรองรับจำนวนสมาชิกใหม่ที่มา
กขึ้น
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
รูปแบบการเรียนการสอน
บทบาทของผู้สอน
บทบาทของผู้เรียน
บทบาทของการเรียนการสอน
ห้องเรียน
ศูนย์เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน
ฐานบริการข้อมูลการเรียน
Student Homepage
ตัวอย่างเครือข่ายการเรียนรู้
เครือข่ายยูนิเน็ต (UNINET) เป็นเครือข่ายเพื่อการเรียนการสอน
ที่สำคัญในยุคโลกาภิวัตน์ จัดทำโดยทบวง มหาวิทยาลัย ในปี พ.
ศ. 2540
เครือข่ายไทยสาร เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงสถาบันการศึกษาต่างๆระดับมหาวิทยาลัยเข้าด้วยกันกว่า 50 สถาบัน เริ่มจัดสร้างในปีพ.
ศ.2535
:
: :