Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ทฤษฏีการออกแบบ การสร้างและการประยุกต์ใช้วัตกรรมและเทคโนโลยีสารสรเท…
บทที่ 4 ทฤษฏีการออกแบบ การสร้างและการประยุกต์ใช้วัตกรรมและเทคโนโลยีสารสรเทศทางการศึกษา
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1.เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจทฤษฎีการออกแบบและการสร้าง
นวัตกรรมทางการศึกษา
2.เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศทางการศึกษาได้
นวัตกรรม หรือ นวกรรม มาจากคาว่า “นว” หมายถึง ใหม่ และ
“กรรม” หมายถึง การกระทำ
เมื่อนำสองคำนี้มารวมกัน เป็น นว กรรม หรือ นวัตกรรม จึงหมายถึง การกระทำใหม่ๆ
วงการศึกษามีคำว่า นวัตกรรมอยู่ 3 คำ ได้แก่
1.นวัตกรรมการศึกษา
2.นวัตกรรมการสอน
3.นวัตกรรมการเรียนรู้
องค์ประกอบของนวัตกรรมการเรียนรู้
1.วัตถุประสงค์
2.แนวคิดพื้นฐาน
3.โครงส้างหรือขั้นตอนการใช้
4.การประเมิน
เป้าหมายของนวัตกรรมการศึกษา
1.เพื่อแก้ไขปัญหาการเรียรู้ที่เกิดขึ้น
2.เพื่อทำให้การเรียนรู้บรรลุเป้าหมายทางการศึกษาที่วางไว้
3.เพื่อให้การจัดการศึกษามีคุณภาพบรรลุเป้าหมายได้ดีขึ้น
การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม
1.ศึกษาประเภทของนวัตกรรม
2.ศึกษาวิธีการสร้าง
3.ศึกษาหลักสูตรการศึกษา
4.ลองลงมือ
5.ทดลองใช้ในการจัดการเรียนการสอน และปรับปรุง
6.ประเมินผล
การสร้างนวัตกรรม
มี3-ขั้นตอน
ปัญหาที่แท้ริงคืออะไร
2.นำปัญหาที่พบมาวาดเป็นภาพ
3.นำภาพที่ได้มาวิเคราะห์
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
1.นวัตกรรมด้านการสอน
2.นวัตกรรมด้านวิธีการ
3.นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
4.นวัตกรรมด้านการวัดประเมินผล
5.นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ
การนำนวัตกรรมมาใช้ประโยชน์ มี 3 ข้อ ดังนี้
1.เพื่อนำนวัตกรรมมาใช้แก้ปัญหาในเรื่องการเรียนการสอน
2.เพื่อนำนวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการ
การนำนวัตกรรมไปใช้เป็นผลงานทาง
ตัวอย่าง นวัตกรรมการเรียนรู้ที่นำไปใช้ในการ
พัฒนาเรียนการสอน
1.บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI )
2.สื่อประสม
ผลกระทบของนวัตกรรมการเรียนรู้
ครูผู้สอน
ผู้เรียน
สถานศึกษา
บทที่ 7แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
ทางการศึกษา
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1.เพื่อศึกษาแหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา
2.ผู้เรียนสามารถบอกความสำคัญของเครือข่ายการเรียนรู้ได้
3.ผู้เรียนสามารถบอกแหล่งเครือข่ายการเรียนรู้ได้
“แหล่งเรียนรู้” หมายถึง “แหล่ง” หรือ “ที่รวม” ซึ่งอาจเป็นสภาพสถานที่ หรือศูนย์รวมที่ประกอบด้วยข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และกิจกรรมที่มีกระบวนการเรียนรู้ หรือกระบวนการเรียนการสอน
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ทางการศึกษา การก่อเกิดของเครือข่ายอาจพิจารณาได้ 2ทาง คือ
1.เครือข่ายที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
2.เครือข่ายโดยการจัดตั้งขึ้น
ความสำคัญของเครือข่ายการเรียนรู้
ปัจจุบันมีการสร้างระบบเครือข่ายการเรียนรู้กันมากขึ้น เพื่อ
เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดระบบการเรียน การสอน รูปแบบใหม่ในสถาบันการศึกษา
แหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข่าวสารข้อมูลสารสนเทศ และประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียน ใฝ่เรียน
ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเอง
สามารถแบ่งได้ประเภทของแหล่งการเรียนรู้ไว้ 2 แบบ
จัดตามลักษณะของแหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ตาม
แหล่งการเรียนรู้ที่มนุษย์สร้างขึ้น
บุคคล
จัดตามแหล่งที่ตั้งของแหล่งการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน
แหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
คุณลักษณะพิเศษของเครือข่ายการเรียนรู้
1.สามารถเข้าถึงได้กว้างขวาง ง่าย สะดวก
2.เป็นการเรียนแบบร่วมกันและทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
3.สร้างกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้กระทำมากกว่า
เป็นผู้ถูกกระทำ
4.ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอน และเน้นบทบาทที่
เปลี่ยนแปลงไป
5.จัดให้เครือข่ายการเรียนรู้เป็นเสมือนชุมชนของการเรียนรู้แบบ
ออนไลน์
แนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาเครือ
ข่ายการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ขั้น ดังนี้
1.ขั้นการก่อรูปเครือข่ายการเรียนรู้
2.ขั้นการจัดระบบบริหารเครือข่ายการเรียนรู้
3.ขั้นการใช้เครือข่ายการเรียนรู้
4.ขั้นการธำรงรักษาเครือข่ายการเรียนรู้
กระบวนการและวิธีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้
1.การตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายเป็นขั้นตอนที่ผู้ปฏิบัติ งานหรือฝ่ายจัดการตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายเพื่อที่จะ
ทำงานให้บรรลุเป้าหมายรวมทั้งพิจารณาถึงองค์กรต่างๆ
2.การติดต่อกับองค์กรที่จะร่วมเป็นเครือข่ายหลังจากตัดสินใจเกี่ยวกับองค์กรที่เห็นว่าเหมาะสมในการเข้าร่วมเป็นเครือข่ายแล้ว
3.การสร้างพันธกรณีร่วมกัน เป็นข้นตอนการสร้างความผูกพันร่วมกัน มีการ
ตกลงใจในความสัมพันธ์ต่อกันและตกลงที่จะทำงานร่วมกันเป็นเครือข่าย
4.การพัฒนาความสัมพันธ์ร่วมกัน เป็นขั้นตอนทีjสร้างเครือข่ายให้เกิดผลงานเป็นรูปธรรมโดยเริ่มทำกิจกรรมที่ใช้ทรัพยากรร่วมกัน
5.การทำกิจกรรมร่วมกัน
6.การรวมตัวกันจัดตั้งองค์กรใหม่ร่วมกัน เพื่อรองรับจำนวนสมาชิกใหม่ที่มากขึ้น
ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
1.รูปแบบการเรียนการสอน
2.บทบาทของผู้สอน
3.บทบาทของผู้เรียน
5.ห้องเรียน
6.ศูนย์เครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียน
7.ฐานบริการข้อมูลการเรียน
ตัวอย่างเครือข่ายการเรียนรู้
เครือข่ายไทยสาร เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงสถาบันการศึกษาต่างๆ
เครือข่ายยูนิเน็ต
สคูลเน็ต
เครือข่ายนนทรี
บทที่ 5 การประเมินและปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เพื่อศึกษารูปแบบการประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศ
นักศึกษาสามารถประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศได้
การประเมินและการปรับปรุงนวัตกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศ
การประเมินนับว่าเป็นขั้นตอนที่สำสัญมาก การเรียนการสอนจะควบคู่กันไปกับวิธีการประเมิน
ความหมายของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
การประเมินผลสื่อการเรียนรู้ หมายถึง การนำเอาผลการวัดและประเมินสื่อ
การเรียนการสอนมาตีความหมาย ตัดสินคุณค่า
“การวัดผลสื่อการเรียนรู้” หมายถึง การกำหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์อย่างมี
กฎเกณฑ์ให้กับสื่อการเรียนรู้
การวัดผลสื่อการเรียนการสอน หมายถึง การกำหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์ อย่างมีกฎเกณฑ์ให้กับสื่อการเรียนการสอน
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลสื่อการเรียนการสอนมีหลายรูปแบบ ผู้
กระทำการวัดและประเมินผลอาจเลือกใช้ตามความเหมาะสม
ความสำคัญของการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
1.ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียนและคุณภาพของการเรียนการสอน
2.ได้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพของสื่อการเรียนรู้
3.เกิดการพัฒนาการใช้สื่อการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
4.สร้างความมั่นใจและอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนรู้
วิธีการประเมินผลสื่อการเรียนรู้
1.การประเมินโดยผู้สอน
2.การประเมินโดยผู้ชำนาญ
3.การประเมินโดยคณะกรรมการเฉพาะกิจ
4.การประเมินผลโดยผู้เรียน
5.การประเมินประสิทธิภาพของสื่อ
6.การประเมินผลโดยตรวจสอบผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
1.แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2.แบบทดสอบความถนัดเพื่อวัดสมรรถนะของผู้เรียน
3.แบบสอบถาม
4.การสังเกตเป็นการเฝ้าดูผลที่เกิดขึ้นจากการใช้สื่อการสอน
5.การสัมภาษณ์เป็นการซักถามและพูดคุยกับทั้งผู้ผลิต ผู้ใช้และผู้เรียน
บทที่ 6 รูปแบบและกลยุทธ์
การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1.นักศึกษามีความรู้และเข้าใจนวัตกรรมการศึกษา
2.นักศึกษาสามารถบอกประเภทของนวัตกรรมการศึกษาได้
3.นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมกับผู้เรียนในแต่ละยุคได้
ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมที่จะ
ช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
การศึกษายุค 4.0
Education 1.0
Education 2.0
Education 3.0
Education 4.0
กระบวนทัศน์การจัดการศึกษา
ศตววรรษที่ ๒๑
1.เน้นที่กระบวนการเรียนรู้มากกว่าความรู้
2.ครูไม่ใช่ผู้ที่มอบความรู้เพียงอย่างเดียว
3.ครูเป็นผู้ออกแบบกระบวนการเรียนรู้พร้อมกับผู้เรียน
4.เป้าหมายของการเรียนรู้ไม่ใช่ที่ตัวความรู้
5.แหล่งเรียนรู้ วิธีการเรียนรู้ สามารถเปิดกว้างได้อย่างไร้ขีดจำกัด
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
1.นวัตกรรมด้านสื่อการสอน
2.นวัตกรรมด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน
3.นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
4.นวัตกรรมด้านการวัดและการประเมินผล
5.นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ