Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เบาหวาน(Diabetic mellitus :DM) (ภาวะแทรกซ้อน (ชา ปวดร้อนตามปลายมือปลายเท้า…
เบาหวาน(Diabetic mellitus :DM)
ภาวะแทรกซ้อน
ชา ปวดร้อนตามปลายมือปลายเท้า
ปลายประสาทอักเสบ
โรคความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจขาดเลือด
ไตเสื่อม
จอประสาทตาเสื่อม
การวินิจฉัย
Random Blood sugar
การเจาะระดับน้ำตาลโดยไม่อดอาหาร
ตรวจโดยให้อดอาหาร8-12ชั่วโมง ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำหวานที่มีกลูโคช 100 มิลลิกรัม เจาะหากลูโคช ที่ 1,2,3 ชั่วโมง
Fasting blood sugar
เจาะเลือดหลังอาหาร 8 ชั่วโมง
HbA1c
การตรวจระดับน้ำตาลในเลือด 2-3 เดือนที่ผ่านมาเพื่อ พิจารณาและประเมินผลในภาพรวม
Type 1
ขาดอินซูลิน (Absolute insulin deficiency)
สาเหตุ
1.ความบกพร่อง 2.ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
beta cell ในตับอ่อน ทำให้เกิดภาวะ beta cell ไม่่ทำงาน
Type 2
ความดื้อต่ออินซูลิน (insulin resistance)
กิจกรรมพยาบาล
2.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำตามแผนการรักษา การตรวจวัดสัญญาชีพในระยะวิกฤตควรวัดทุก 15 นาทีในระยะ 2-3 ชั่วโมงและติดตามการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัวทุก 1 ชั่วโมงเมื่อสัญญาณชีพคงที่จึงวัดทุก 4 ชั่วโมง
3.ให้การพยาบาลเพื่อช่วยเหลือให้ผู้ป่วยมีความเครียดลดลงโดยอธิบายให้ทราบเกี่ยวกับความเจ็บป่วยแผนการรักษาพยาบาลและผลที่ต้องการให้เกิดกับผู้ป่วยรวมทั้งลดการกระตุ้นที่ไม่จำเป็นเพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพออนุญาตให้ญาติเยี่ยมได้เพื่อให้กำลังใจดูแลให้ผู้ป่วยบรรเทาความเจ็บปวดและความปวด
4.ให้การพยาบาลเพื่อไม่ให้เกิดภาวะคีโตอะซิโดสิสหรือภาวะ HHNC ซ้ำโดยการอธิบายถึงสาเหตุการปฏิบัติตนที่ถูกต้องโดยเฉพาะการได้รับยาอย่างครบด้วยสม่ำเสมอการสังเกตอาการผิดปกติการดูแลรักษาตัวและมาพบแทพย์ทันทีเมื่อมีอาการผิดปกติ
1.เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดให้ได้รับอินซูลินอย่างถูกต้องตามแผนการรักษาติดตามผลการตรวจอิเล็กโทรไลต์เพื่อประเมินภาวะโปแตสเซียมในเลือดต่ำเนื่องจากการได้อินซูลินจะทำให้ระดับโปแตสเซียมต่ำลงให้เสียชีวิตได้พยาบาลควรติดตามระดับโปรแตสเซียมในเลือดนอกจากนี้ควรระมัดระวังภาวะสมองบวม
กลไกการเกิด
เกิดจากการขาดอินซูลิน และภาวะดื้อต่ออินซูลิน ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเข้าสู่cell ต่างๆได้น้อยกว่าปกติ
3.ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลมาเผาผลาญเป็นพลังงานได้ ร่างกายเผาผลาญกล้ามเนื้อและไขมันแทนทำให้ร่างกายผอม กล้ามเนื้อฝ่อลีบ ไม่มีไขมัน อ่อนแรง
2.เกิดการคั่งของน้ำตาลในเลือด น้ำตาลถูกขับออกทางปัสสาวะ
1.เกิดการสะสมคีโตนและกรดในร่างกาย
เกิดภาวะคีโตอะซิโดสิสจากเบาหวาน(DKA)โดยตับสร้างketone จากกรดไขมัน เมื่อketoneในตับเพิ่มมากขึ้นทำให้เป็นกรดมากเกิด metabolic acidosis ร่างกายจึงเกิด bicarbonate buffer โดยแยกไดรเจนอิออนออกมารวมกับไบคาร์บอเนตได้กรดคาร์บอนิกกับacetoacetate และbeta-hydroxybutyrate แล้วH2CO3 จะสลายเป็นน้ำและคาร์บอนไดออกไซด์ ทำให้หายใจเร็วลึก เรียกว่า หายใจคูสมอลล์
4.เกิดน้ำตาลในเลือดสูง (HHNC)
ตับอ่อนยังสร้างอินซูลินออกมาได้บ้าง จึงทำให้ไม่พบว่ามีการสลายไขมันเพื่อสร้างคีโตนขึ้นในเลือด แต่จะพบว่ามีระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่า600 มก./ดล. ทำให้ปัสสาวะออกมากและมีภาวะร่างกายขนาดน้ำ
5.เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
มักจะเกิดกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน ซึ่งอาจเป็นผลข้างเคียงจากการใช้ยารักษาโรคเบาหวานหรืออินซูลิน เพราะหากใช้อินซูลินมากเกินไปก็จะทำให้น้ำตาลในเลือดลดลงต่ำมาก นอกจากนั้น หากน้ำตาลที่อยู่ในร่างกายถูกใช้หมดเร็วจนเกินไป น้ำตาลถูกปล่อยเข้าสู่กระแสเลือดช้าเกินไป ก็ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดต่ำลงได้เช่นกัน
OGTT