Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของกำลังการคลอด (Power) (แรงเบ่งไม่พอ/แรงเบ่งน้อย (Poor bearing…
ความผิดปกติของกำลังการคลอด (Power)
แรงเบ่งไม่พอ/แรงเบ่งน้อย (Poor bearing down effort)
การเบ่ง (Pushing or bearing down) มีการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อ
หน้าท้องและกล้ามเนื้อกระบางลม เพิ่มความดันในช่องท้อง
ความรู้สึกอยากเบ่งหรือลมเบ่ง เกิดจากส่วนนำกดกล้ามเนื้อเชิงกราน
กระตุ้นเส้นประสาท sacral and obturator nerve
แรงเบ่ง (bearing down effort) มีความสำคัญต่อการคลอด
ในระยะที่ 2 ทำให้เพิ่มความดันมดลูก 1-2 เท่า
วิธีการเบ่ง หายใจเข้าลึกๆ เม้มปากออกแรงเบ่ง
ให้มากที่สุดและนานที่สุด
สาเหตุ
2.ท่าเบ่งคลอดไม่เหมาะสม เช่น ขณะเบ่งไม่ก้มศีรษะ
ผู้คลอดได้รับยาชาเฉพาะที่ เช่น ได้รับยาชาทางไขสันหลัง
ในระดับต่ำถึงเส้นประสาทสาครัม
ได้รับยาสลบ (general anesthesia) หมดสติ เป็นอัมพาต
ผู้คลอดได้รับยาแก้ปวดในปริมาณมาก
เบ่งไม่เป็นหรือเบ่งไม่ถูกวิธี เช่น เบ่งสั้น
ผู้คลอดหมดแรง เนื่องจากระยะคลอดนาน
เจ็บครรภ์มาก ดิ้น กระสับ กระส่าย ควบคุมตนเองไม่ได้
อ้วนมาก กล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
ผลต่อการดำเนินการคลอด ผู้คลอด และทารก
ทำให้การคลอดในระยะที่ 2 ยาวนาน
เบ่งคลอดเวลานาน อาจทำให้ผู้คลอดหมดแรง
อ่อนเพลีย เกิดภาวะขาดน้ำ
ต่อผู้คลอด เกิดความวิตกกังวล หวัดกลัว เกิดความรู้สึกไม่ปลอดภัย ไม่ประทับใจต่อการคลอด เกิดทัศนคติที่ไม่ดีต่อการคลอด
ทารกอาจขาดออกซิเจนได้ ถ้าการคลอดระยะที่ 2 ยาวนาน
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารเพียงพอ
ระยะเบ่งคลอด สอนเบ่งคลอด กระตุ้นเชียร์เบ่ง
กล่าวคำชมเชยพูดให้กำลังใจ
คลอดนานผู้คลอดเกิดความวิตกกังวล เห็นใจและเข้าใจผู้คลอด
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจ ตลอดจนแผนการรักษาพยาบาล
ระยะที่ 1 สอนเทคนิคการหายใจ การเพ่งจุดสนใจ
การลูบหน้าท้อง และการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
ไม่มีข้อห้ามในการเบ่ง คือ โรคหัวใจ, BP สูง,
โลหิตจางรุนแรง สอนวิธีเบ่งคลอด
มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ (Uterine dysfunction)
มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
(Hypotonic uterine dysfunction)
หดรัดตัว <40 sec
ระยะห่าง >3 min or ภายใน 10 min
หดรัดตัวเป็นจังหวะดี แต่สั้นเกินไป
ผลต่อการคลอด
คลอดยากระยะที่ 1 เนื่องจาก UC น้อย ไม่เพียงพอ
ต่อการเปิดขยายของปากมดลูก
คลอดยากระยะที่ 2 เนื่องจาก แรงไม่มากพอ
ที่จะพลักทารกให้เคลื่อนต่ำ
สาเหตุ
ขาดการกระตุ้นให้เกิดเฟอร์กูสันรีเฟล็กซ์ เช่น ศีรษะทารกและช่อง
เชิงกรานไม่ได้สัดส่วนกัน, ส่วนนำ ทรง หรือทารกผิดปกติ ทารกตัวเล็ก
ความแรงของการหดรัดตัวของมดลูกอยู่ในระดับน้อยถึงปานกลางหรือ
แรงดันถุงน้ำคร่ำ <15 mmHg
กล้ามเนื้อมดลูดผิดปกติ เช่น ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ ทารกตัวโต
การพยาบาล
กระตุ้นปัสสาวะ ทุก 2-4 hr
หากผู้คลอดอุจจาระเกิน 12 hr ให้สวนอุจจาระ
ถ้าปากมดลูกยังเปิดไม่หมด กระตุ้นให้ผู้คลอดลุกเดิน ถ้าลุกเดินไม่ได้
ให้เปลี่ยนท่านอน
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ประเมิน UC ทุก 30 min ถ้าไม่มีความก้าวหน้าให้รายงานแพทย์
ประเมิน UC ระยะ active phase
ระยะหลังคลอดสังเกตการหดรัดตัวของมดลูก ให้ Oxytocin 1 hr
หลังคลอด
มดลูกหดรัดตัวมากผิดปกติ
(Hypertonic uterine dysfunction)
UC หดรัดตัวมาก ไม่คลาย
UC หดรัดตัวมาก รัดตัวเป็นวงแหวน
UC หดรัดตัวไม่ประสานกัน
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 15-30 นาที
จัดให้ผู้คลอดนอนตะแคง
ดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดตามการรักษา
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับการพักผ่อน
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำอย่างเพียงพอ
ทารกในครรภ์อาจขาดออกซิเจน ดูแลให้ได้รับออกซิเจน 4 ลิตร/นาที
ประเมินเสียงหัวใจทารกทุก 15-30 นาที
ความผิดปกติด้านจิตใจ (Psyche)
ผู้คลอดแสดงความรู้สึกต่อตนเองตามประสบการณ์คลอด
เกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอด ความปลอดภัย
ของตนเองและบุตร
ภาวะจิตสังคมมีผลโดยตรงต่อผู้คลอด
สาเหตุ
สิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล
การคลอดไม่เป็นไปตามความคาดหวังหรือตามความต้องการ
เหตุการณ์ในระยะคลอดไม่เป็นไปตามความคาดหวัง
การขาดความรู้ หรือ มีความเข้าใจไม่ถูกต้อง
การพยาบาล
ช่วยมารดาให้ใช้เทคนิคการผ่อนคลาย และดูแลความสุขสบาย
ให้ยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษาของสูติแพทย์
จัดสิ่งแวดล้อมให้มารดาเกิดความสุขสบาย
พูดคุยกับมารดาเกี่ยวกับภาวะสุขภาพทางด้านจิตใจ
ส่งเสริมให้สามีเข้ามามีส่วยร่วม