Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคทางเดินน้ำดีตีบตัน (Biliary Atresia) (การวินิจฉัย (การวินิจฉัยที่ผู้ป่ว…
โรคทางเดินน้ำดีตีบตัน (Biliary Atresia)
ข้อมูลครอบครัว
ตาทวดเป็นหัวหน้าครอบครัว สมาชิกในครอบครัวประกอบไปด้วยคุณตาทวด คุณยายทวด บิดา มารดา และผู้ป่วย คุณตาทวดและคุณยายทวดมีอาชีพเกษตรกร มารดาไม่ได้ทำงาน บิดาเพิ่งปลดทหารผู้ป่วยมีมารดาเป็นผู้ดูแล รายได้ส่วนหนึ่งมาจากการทำงานของคุณยายที่ทำงานรับจ้างต่างจังหวัด คอยส่งเงินมาให้
ครอบครัวรักใคร่กันดีสามารถปรึกษาหารือกันได้ทุกเรื่อง คอยดูแลช่วยเหลือกันตลอด
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
น้ำหนัก 8 กิโลกรัม ส่วนสูง 65 เซนติเมตร การแปลผล ค่อนข้างอ้วน
เส้นรอบศีรษะ
44 เซนติเมตร การแปลผล ปกติ
ขนาดกระหม่อมหน้า
ปิดเมื่ออายุ ยังไม่ปิด (เกณฑ์ปกติ อย่างช้าไม่เกิน 1 ปี หรือ 1 ปี 6 เดือน)การแปลผล ปกติ
ขนาดกระหม่อมหลัง
ปิดเมื่ออายุช่วง 3-4 เดือน (เกณฑ์ปกติ อย่างช้าไม่เกิน 4 เดือน)การแปลผล ปกติ
ได้รับวัคซีนครบกำหนด
ข้อมูลทั่วไป
เด็กชายภานุวัฒน์ วงศ์วรชาติ เตียง 25 อายุ 5 เดือน
การวินิจฉัยโรค ทางเดินน้ำดีอุดตันbiliary atresia
เตียง 25
ข้อมูลทางสุขภาพ
Chief Complain**
t:ท้องโตและตัวเหลืองมากขึ้นก่อนมาโรงพยาบาล 2 วัน
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
Present illness**
:2 เดือนก่อน มาโรงพยาบาลมีอาการตาและตัวเหลือง มีท้องโตร่วมกับมีปัสสาวะสีซีด 2 วันก่อนมาโรงพยาบาลตัวเหลืองมากขึ้นและมีอาการท้องโต จึงไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลหนองคาย ได้รับการU/S และได้รับเลือด มีอาการไม่ดีขึ้นจึง refer มาที่โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การตั้งครรภ์
G1P1A0L1 ตั้งครรภ์ครบกำหนด คลอดธรรมชาติเป็นทารกเพศชาย น้ำหนักแรกคลอด 3000กรัม ทารกสมบูรณ์แข็งแรงดี ไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์และคลอด Apgar score=9 มารดาฝากครรภ์ครบและรับวัคซีนครบ
ได้รับวัคซีนครบตามกำหนดช่วงวัย
.การทบทวนอาการตามระบบ
ท้อง (Abdomen)
ท้องมีขนาดโตมากกว่าปกติ นูนขึ้นมา ไม่มีรอยโรค มีรอยแผลผ่าตัด การกระจายตัวของขนสม่ำเสมอกัน สีผิวเป็นสีเดียวกันกับผิวกาย มีอาการท้องอืด ไม่มีอาการท้องเดิน
ผิวหนัง
ผู้ป่วยมีสีผิวเหลือง ผิวเรียบ เกลี้ยงมีความชุ่มชื้น ไม่พบรอยโรค ไม่พบจุดจ้ำเลือด
การตึงตัวของผิวเมื่อจับเข้าหากันแลว้ จะคลายคืนสู่สภาพเดิมทันที ไม่บวม กดไม่บุ๋ม
capillary refill time โดยกดปลายนิ้วของผู้ป่วยจนสีผิวปลายนิ้วซีด แล้วปล่อยให้เลือดไหลคืนจนสีผิวปกติ
ไม่เกิน 2 วินาที
โรคทางเดินน้ำดีตีบตัน (Biliary Atresia) เป็นผลของพยาธิสภาพที่มีการอักเสบและการเกิดเนื้อเยื่อพังผืดอย่างต่อเนื่องของระบบทางเดินน้ำดีในทารกแรกเกิดทำให้เกิดการตีบตันของทางเดินน้ำดีทั้งในตับและนอกตับอย่างถาวร
การวินิจฉัย
การตรวจหน้าที่ตับ (Liver Function Test, LFT)
Ultrasonography
Hepatobiliary scintigraphy ด้วย technetium-labelled isotope ร่วมกับอนุพันธ์ของ iminodiacetic acid (IDA)
Intra-operative cholangiography (IOC)การผ่าตัด mini-exploratory laparotomy เพื่อฉีดสารทึบรังสีเข้าทางถุงน้ำดีเพื่อประเมินสภาพของตับ
การวินิจฉัยที่ผู้ป่วยได้รับ
Intra-operative cholangiography (IOC) ร่วมกับ liver biopsy
Ultrasonography
การตรวจหน้าที่ตับ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อาการและอาการแสดง
อาการแสดงของโรค
ทารกมักจะมีอาการตัวเหลืองประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์หลังคลอดและอาการเหลืองจะมากขึ้นเรื่อยๆ ไข้ต่ำๆและไม่ค่อยดูดนม ลักษณะอุจจาระจะเป็นสีซีดเหมือนปูนขาว
อาการแสดงของผู้ป่วย
ผู้ป่วยมาด้วยอาการตา ตัวเหลือง ท้องโต อุจจาระมีสีซีด มีภาวะ cirrhosis
ข้อมูลสุขภาพ 11 แบบแผน
แบบแผนที่ 2 แบบแผนโภชนาการและการเผาผลาญ
ผู้ป่วยดูดนมได้เท่าเดิม ไม่มีเบื่ออาหาร ดูดนมวันละ 8-10 ครั้ง ดูดได้ประมาณครั้งละ 3-4 ออนซ์
มีไข้ 38 องศาเซลเซียส
มีโอกาสเกิดภาวะติดเชื้อเนื่องจากมีแผลบริเวณหน้าท้อง
1.ประเมิน V/Sทุก 4 hr
2.สังเกตอาการและภาวะติดเชื้อภายในร่างกาย เช่น ไข้ ไอ มีเสมหะ ปัสสาวะขุ่น
3.ดูแลให้ได้รับ ATBตามแผนการรักษาของแพทย์คือ Cefotazime 200 mg vein q 6 hr,Metronidazole 80 mg vein q 8 hr
4.ให้ยาลดไข้ตามแผนการรักษา คือ Paracetamol syrup
oral pc q 4-6 hr
5.แนะนำให้ญาติดูแลเช็ดตัวลดไข้และวัดไข้ซ้ำ
6.ล้างมือก่อนให้การพยาบาลทุกครั้งและให้การพยาบาลตามหลัก aseptic technique
7.ดูแล Hygiene care
8.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับนมอย่างเพียงพอ
9.ดูแลให้นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
แบบแผนที่ 10ความเครียดและการเผชิญความเครียด
ขณะเจ็บป่วย: ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง ร้องไห้งอแงในบางช่วง สามารถนอนหลับพักผ่อนได้ ญาติบอกว่ารู้สึกกังวลกับอาการเจ็บป่วยของผู้ป่วย กลัวว่าจะไม่หาย กลัวจะเกิดอันตรายกับผู้ป่วย
จากการสังเกตและตรวจร่างกาย: ผู้ป่วยสดใสร่าเริง สามารถเข้ากับบิดามารดาได้ดี ติดมารดา ร้องงอแงบ่อยในบางครั้
ญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของความวิตกกังวลเช่น นอนไม่หลับ สีหน้าตึงเครียด มีอารมณ์หงุดหงิด
2.สร้างสัมพันธภาพผู้ป่วยและญาติโดยแสดงให้เห็นความตั้งใจที่จะช่วยเหลือ ยิ้มแย้มแจ่มใส ปฏิบัติการพยาบาลด้วยความนุ่มนวล สนับสนุนด้านกำลังใจ
3..ให้ความเชื่อมั่นว่าในขณะที่นอนรักษาตัวที่โรงพยาบาลจะได้รับการดูแลจากบุคลากรทางการแพทย์เป็นอย่างดี
4.แจ้งให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึงการรักษาและอาการปัจจุบันของผู้ป่วย
5.เปิดโอกาสให้ญาติได้ซักถามข้อสงสัยและเปิดโอกาสให้ญาติได้ระบายความรู้สึกและหา
แนวทางร่วมกันแก้ไข
6.แนะนำวิธปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
การรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ
การปลูกถ่ายตับ